Bangkok Recorder - March, 1845
Chemistry, No. 4. Hydrogen.
ที่ นี้ จะ พรรณา ว่า ด้วย หุดโงเซน. ๆ นั้น เปน ภาษา เฮเลิน, ถ้า แปล เปน ภาษา ไทย ว่า เปน สิ่ง ที่ ทํา น้ำ เรียก ดั่ง นั้น เพราะ น้ำ นั้น มี หุดโรเชน มาก. หุดโรเชน นั้น เปน ลม อย่าง หนึ่ง, เบา กว่า ลม อากาษ ประมาณ ศัก ๑๔ เท่า, แล เบา กว่า อกซุเชน นั้น ศัก ๑๖ เท่า, อนึ่ง เขา ใช้ ลม หุดโรเชน นั้น ทํา สิ่ง หนึ่ง, ที่ อังกฤษ เรียก ว่า บาลูน, ให้ ขึ้น บน อากาษ. เหมือน กับ คน จะ เอา กะเภาะ สัตว สิ่ง ใด สิ่ง หนึ่ง, ใส่ น้ำ มัน ให้ เตม แล้ว เอา จม ลง ใน นั้ง ให้ ถึง พื้น แล้ว กะเภาะ นั้น ก็ จะ ลอย ขึ้น มา บน หลัง น้ำ ไม่ จม อยู่ ใต้ น้ำใต้, เพราะ ว่า น้ำ มัน นั้น มัน เบา กว่า น้ำ เหมือน กัน. ถ้า เรา จะ ทํา ถุง ไหญ่ ด้วย ผ้า บาง ๆ มี ไหม เปน ตัน, แล้ว หํา ให้ เตม ด้วย หุดโรเชน นั้น มัน ก็ จะ ลอย สูง ขึ้น ไป บน อากาษ, เพราะ ว่า หุดโรเชน นั้น เบา กว่า ลม อากาษ. ถ้า แม้น ถุง นั้น จะ ใหญ่ นัก กว้าง ยาว ประมาณ ศัก สิบ ศอก มัน ก็ จะ พยุง คน ให้ ลอย ขึ้น ไป บน อากาษ ได้ ด้วย. แล มี คน หลาย คน ได้ ขึ้น ไป บน อากาษ ด้วย ถุง อย่าง นี้, ลอย ไป ตาม ลม ไป ไกล. หลาย สิบ โยชน์ แล้ว ก็ กลับ ลง มา. ฮนึ่ง ถ้า จะ กระทำ ไห้ หุดโรเชน นั้น ปรากฏ ก็ ให้ ทำ ดั่ง นี้, คือ เอา ผง เหลก ก็ ได้, เหลก ตะบู เลก ๆ ก็ ได้, มาก น้อย ไม่ กำหนด, ใส่ ลง ใน ถัง แล้ว เอา น้ำ กรค กำมะถัน ปน กับ น้ำ ท่า, คือ น้ำ กรด ส่วน หนึ่ง, น้ำ ท่า สาม ส่วน, เทลง ใน ถง ที่ ใส่ เหลก นั้น. แล้ว หุดโรเชน จะ ขึ้น ใน น้ำ นั้น เหมือน กับ ฟอง น้ำ, แล้ว จะ จับ หุดโรเชน ไว้ ดัวย ถ้วย แก้ว ก็ ได้. อนึ่ง หุดโรเชน, ถ้า ใม่ มี สิ่ง อื่น ปบ คละ กัน อยู่, ก็ ไม่ มี ศี ไม่ มี รศ ไม่ มี กลิ่น. อนึ่ง ถ้า จะ เอา ไฟ ให้ ติด ลม หุดโรเชน, มัน ก็ จะ ลุก เปน เปลว เหมือน กับ เปลว สุรา ติด ไฟ นั้น. ถ้า ผู้ ใด จะ ลอง ดู ก็ ให้ ทำ ดั่ง นี้ คือ เอา ขวด แก้ว ทำ ให้ เตม ด้วย หุดโรเชน, แล้ว เบีด ปาก ขวด เอา เทียน จุด ไฟ มา แอบ เข้า ที่ ปาก ขวด, ทุดโรเชน ใน ขวด นั้น, ก็ จะ บังเกิด ลุก เปน เปลว ใหญ่ ขึ้น, ประการ หนึ่ง ถ้า จะ เอา หุด โรเชน กับ อกซุเชน ปน กัน เข้า แล้ว จุด ไฟ, มัน จะ ลุก เปน เปลว ไฟ แล เปน เสียง ดัง เหมือน กับ ดิน ปืน. ถ้า จะ กวะทำ ให้ เปน เลียง ดัง ก็ ให้ เอา หุดโรเชน สอง ส่วน, อกซุเชน ส่วน หนึ่ง, ปน กัน เข้า. ถ้า จะ เอา ลม ที่ ปน กัน ดัง นี้ กระทำ เปน ฟอง ซ่าบู่, แล้ว เอา เทียน จุด ไฟ แอบ กับ ฟอง ซ่าบู่ นั้น เมื่อ มัน ยัง ลอย อยู่ บน อากาษ, มัน ก็ จะ ลุก เปน เลียง ดัง เหมือน กับ เสียง ปืน เลก ๆ. ประการ หนึ่ง เรา ได้ ว่า แต่ ก่อน, ว่า น้ำ นั้น คือ เปน หุดโรเชน แล อกชุเชน ปน กัน เข้า จึ่ง เปน น้ำ, คือ หุดโรเชน สอง ส่วน, อกซุเชน ส่วน หนึ่ง. แต่ ต้อง เฮา ไฟ เผา จึ่ง เปน น้ำ, ถ้า ไม่ เอา ไฟ เผา ก่อน ก็ ไม่ เปน น้ำ. นี่ แล เปน อัศจรรย์ จริง อยู่, แต่ ว่า เปน ความ จริง แท้.
Will o’the Wisp. Shooting Stars.
จะ ว่า ด้วย ผี ขโมด แล ผี พุ่ง ใต้. อัน ว่า ใน ที่ ต่ำ แล ที่ หลุม แล ที่ ทุ่ง นา ต่าง ๆ, มัก บังเกิด เหน เปน เปลว ไฟ ใน เพลา กลาง คืน นั้น. บาง ที ใน อากาษ นั้น ก็ บังเกิด เปน เปลว ไฟ วาบ ไป วาบ มา, แล เมื่อ บังเกิด เปน ไฟ ดั่ง ว่า มา นี้. บาง คน ก็ กลัว ถือ ว่า เปน ผี. บาง ที เขา ก็ สำคัญ ว่า คน ถือ ใต้ แล้ว หลง ตาม ไป ใน ทุ่ง ใน ป่า. แต่ ไม่ มี เหตุ ที่ จะ กลัว เลย, เพราะ เหตุ ว่า มี ลม หลาย อย่าง ที่ มัก บังเกิด ใน ที่ หลุม แล ที่ ทุ่ง นา นั้น, ลม ต่าง ๆ นั้น ก็ ลุก เอง เปน เปลว ไฟ บ่อย ๆ. บาง ที ลม นั้น เบา นัก ก็ ลอย สูง ขึ้น ไป บน อากาษ, แล้ว ก็ บังเกิด เปน ไฟ ที่ นั้น ที่ คน เรียก ว่า ผี พุ่ง ใต้. บาง ที ลม นั้น มี น้ำ หนัก เท่า กับ ลม อากาษ จึ่ง ลอย สูง ขึ้น ไป ไม่ ได้, แต่ ลอย ไป ลอย มา ใน ที่ ต่ำ ตาม ลม พัด นั้น. เมื่อ เปน ดั่ง นั้น คน เวียก ว่า ผี ๆ ขโมด. บาง คน ก็ ถาม ว่า ลม ที่ บังเกิด เปน ไฟ ดั่ง ว่า มา นี้, เหตุ ใด จึ่ง บังเบิด แต่ เวลา กลาง คืน เล่า กลาง วัน นั้น จึ่ง ไม่ บังเกิด, ตอบ ว่า มัน ก็ บังเกิด เลมอ ทั้ง กลาง วัน กลาง ศืน เหมือน กัน, แต่ ใน กลาง วัน นั้น เรา ไม่ เหน เพราะ แสง พระอาทิตย์ นั้น กล้า, เรา จึ่ง เหน ไม่ ได้. เปรียบ เหมือน กับ ไม่ เหน ดาว ใน เพลา กลง วัน เหมือน กัน.
The Lion. A Story.
จะ ว่า ด้วย สิงโต ใน หวีป อาฟ่ริกา ข้าง เทิศ ใต้. ใน เมือง นั้น มี สิงโต ชุม นัก. มี คน หนึ่ง ซื้อ โมฟัด, เปน ท์ว เมือง อังกฤษ, ได้ ไป อาไศรย ทวิป อาฟ่ริกา ข้าง ใต้ นั้น, เปน ครู สอน สาศนา พระ เยซู. คน นั้น ได้ แต่ง หนังสือ เปน เรื่อง ราว, ได้ ตีภิม ไว้ ได้ ศัก ห้า ปี แล้ว. ใน หนังสือ นั้น มี นิทาน ว่า ด้วย สิงโต เปน หลาย ข้อ, เดี๋ยว นี้ เรา จะ แปล หนังสัอ นั้น ออก เปน ภาษา ไทย ศัก ข้อ หนึ่ง, ว่า ยัง มี คน หนึ่ง อยู่ ใน บ้าน เบทาเนีย, คน นั้น ได้ ไป บ้าน อื่น ด้วย จะ เยี่ยม พี่ น้อง ของ ตน. ครั้น ไป เยี่ยม แล้ว เมื่อ เขา จะ กลับ มา บ้าน นัน, เขา ก็ มิ ได้ กลับ มา ทาง เดิม, แล มา ตาม ทาง อ้อม, ตาม ลำบึง ที่ เนื้อ เคย อาไศรย์ กิน น้ำ ด้วย ประสงค์ จะ ยิง ซึ่ง เนื้อ ไป กิน เปน อาหาร ที่ บ้าน ของ ตน, เมื่อ เขา ไป ถึง บึง นั้น ก็ เปน เวลา ลาย พระ อาทิตย์ กล้า แล้ว, เขา ก็ ไม่ ไค้ พบ ปะเนื้อ คัก ตัว หนึง. แล้ว เฃา ก็ เอา ปืน วาง ไว้ ที่ แผ่น สี ลา เดิน ลง ไป ใน บึง กิน ซึ่ง น้ำ, กิน แล้ว ก็ กลับ ขึ้น มา นั่ง ลง ที่ แผ่น สิลา ที่ ปืนอยู่, แล้ว ก็ สูบ กล้อง, สูบ แล้ว ก็ เอน ตัว ลง นอน จะ ให้ หาย เหนื่อย. หลัก ไป ศัก ครู่ หนึ่ง แล้ว ก็ ตื่น ขึ้น, ดัวย แผ่น สิลา มัน ร้อน นัก ด้วย พวะอาทิตย์ ส่อง กลัก, ภอ ลืม ตา ขึ้น ก็ เหน สิงโต ตัว ใหญ่ ตัว หนึ่ง, มา พุบ หมอบ อยู่ ตรง หน้า, ใก้ล กับ กับ ตีน ของ ตน ประมาณ ศัก สาม ศอก. เมื่อ เหน แล้ว ก็ ตกใจ นัก ลุก ขึ้น นั่ง นิ่ง อยู่, มิ ได้ ไหว ตัว เลย. ครั้น ได้ สติ แล้ว ก็ เอื้อม มือ ไป จะ ยิบ ซึ่ง ปืน. เมื่อ สิงโต มัน เหน ดั่ง นั้น, มัม ก็ เงย ศีศะ ขึ้น ร้อง ด้วย เสียง อัน ดัง, เหมือน กับ เลียง แห่ง ฟ้า ร้อง ด้วย มัน โกรธ. เหตุ ฉนั้น เขา ก็ ไม้ อาจ จะ หยิบ ปืน ได้. ครั้น สิงโต อยุด รัอง, เฃา ก็ เอื้อม มือ ไป จะ หยิบ ปืน อีก, สิงโต เหน ก็ ร้อง ด้วย เสียง ดัง อีก. แต่ ทำ เช่น นั้น ศัก สาม ครั้ง สี่ ครั้ง, เมื่อ เขา เหน ว่า สิงโต โกรธ นัก เขา ก็ มิ ได้ เอื้อม มือ ไป หยิบ ปืน อีก, ด้วย กลัว ว่า สิงโต จะ โจน มา กัด เขา ตาย. เมื่อ เฃา หนัง อยู่ ที่ แผ่น สิลา นั้น ลำบาก นัก ด้วย มัน ร้อน, ต้อง กลับ ตีน ขึ้น ลง บ่อย ๆ. แต่ นีง อยู่ เช่น นั้น สิ้น วัน หนึ่ง คืน หนึ่ง ด้วย สิงโต ยัง มิ ได้ ถอย ไป จาก ที่ เลย, ครั้น ถึง เพลา เที่ยง วัน ที่ สอง, สิงโต ก็ ลุก ขึ้น เดิน ไป จะ กิน น้ำ ใน บึง. แต่ เมื่อ มัน ยัง ไม่ ถี่ง น้ำ, มัน ก็ เหลียว หลัง มา คู คน นั้น, เหน คน นั้น เอื้อม มือ จะ หยิบ ปืน, มัน ก็ โกรธ นัก, มัน ก็ กลับ เรว ดู เหมือน จะ กัด กิน ซึ่ง คน นั้น, ศัก ครู่ หนึ่ง มัน ก็ ลง ไป กิน น้ำ, กิน แล้ว มัน ก็ คลับ มา พุ่บ หมอบ อยู่ ที่ เก่า อีก, แล้ว อยู่ ที่ นั้น อีก ดืน หนึ่ง. คน นั้น เมื่อ เล่า เรื่อง นี้ ว่า ใน สอง คืน นั้น จะ หลับ หฤา ไม่ หลับ ก็ ไม่ รู้, ถ้า ว่า จะ หลับ ก็ หลับ ทั้ง ลืม ตา, ด้วย ว่า แล เหน สิงโต อยู่ ที่ นัน เสมอ. เมื่อ ถึง วัน ที่ สาม เพลา สาย, สิงโต ก็ ลง ไป กิน น้ำ อีก. เมื่อ มัน กิน น้ำ อยู่ มัน ได้ ยิน เสียง ปรากฏ ใน พุ่ม ไม้ แห่ง หนึ่ง, มัน ก็ เดิน ไป ตาม เสียง, ก็ หาย ไป ใน พุ่ม ไม้ นั้น. เมื่อ สิงโต มัน ไป จาก ที่ นัน แล้ว, คน นั้น ก็ สุก ยื่น ขึ้น, แต่ ตำ รง ตัว ไม่ ได้ ก็ ลัม ลง ที่ นั้น, ที่ หลัง หยิบ ปืน แล้ว ก็ คลาน ลง ไป กิน นำ้ ใน บึง, กิน น้ำ แล้ว ก็ พิจรณา คู ตีน ของ ตน, เหน ตีน ตน นั้น เปี่อย เหมือน กับ ปลา ที่ ปี้ง แล้ว. เขา ก็ อยุด นั่ง อยู่ ที่ นั้น ศัก ครู่ หนึ่ง ด้วย คิด ว่า สิงโต จะ กลับ มา อีก, ถ้า ว่า มัน กลับ มา จะ เอา ปืน ยิง ให้ มัน ตาย. เมื่อ เหน ว่า สิงโต มัน ไม่ กลับ มา แล้ว เขา ก็ เอา ปืน ผูก เข้า ที่ หลัง ลัง คลาน ไป สู่ หาง ที่ เปน ทาง คน เดิน นั้น, ด้วย คิด ว่า ถ้า ฟบ คน เดิน ไป มา แล้ว, คน นั้น จะ ช่วย พา ตน ให้ ไป บ้าน ได้, ครั้น คลาน ึง หน ทาง ก็ คอย อยู่ ที่ ทาง ศัก ครู่ หนึ่ง, ก็ มี คน เดิน ทาง พา คน นั้น เข้า บ้าน ได้. แต่ ว่า ตีน ของ คน นั้น เส่ย ไป เดิน ไม่ ได้, เปน ง่อย ไป ตั้ง แต่ วัน นั้น ไป จน ตาย.
The English Alphabet.
จะ ว่า ด้วย อักษร อังกฎษ นั้น. อัน ว่า ใน จด หมาย เหตุ ใน ไบ ต้น นั้น, เรา ได้ ว่า ไว้ ว่า บาง ที่ จะ แต่ง คำ สอน สำหรับ คน ซึ่ง ปราถนา จะ เรียน คำ อังกฤษ. เดิ๋ยว นี้ เรา จะ แต่ง คำ สอน ให้ รู้ ว่า, ละ เล่า อักษร อังกฤษ นั้น จะ ออก ชื่อ ใช้ อักษร อย่าง ไร. อัน ก, ข, อังกฤษ นั้น เขา เรียก ว่า เอ, บี, ซี, ตาม ภาษา เดก, เหมือน คำ พูด ว่า จะ เล่า เอ, บี, ซี, ได้ หฤๅ, เหมือน ภาษา ไทย ถาม ว่า เอง จะ เล่า ก, ฃ, ใด้ หฤๅ. อนึ่ง เรา จะ เอา อักษร อังกฤษ ตัว หนึ่ง เขียน ใว้ ใน เ้ เบี้ยง หน้า, แล้ว จะ เฃียน เปน อักษร ไทย ตาม อักษร อังกฤษ ไว้ เบื้อง หลัง, ทำ อย่าง นั้น ไป จน ลิ้น อักษร อังกฤษ, ตาม ที่ เขา ลำดับ กัน ไว้ นั้น. แต่ มี อักษร อังกฤษ หลาย ตัว ที่ จะ เฃียน ใช้ ตาม สำเนียง อักษร ไทย ไม่ ได้, เพราะ สำเนียง อังกฤษ นั้น ไม่ ถูถ กัย สำเนียง ไทย. เมื่อ เรา จะ เขียน อักษร เหล่า นี้, ก็ จะ เขียน ให้ มี สำคัญ อย่าง นี้ * ติด ไป ด้วย. ที่ เฃียน ไว้ อย่าง นี้ คือ จะ ให้ รู้ ว่า, จะ ตาม ลำเนียง อักษร ไทย ใน ตัว นั้น ที่ เดียว ไม่ ได้, คน ที่ จะ เรียน รู้ ต้อง ไป หา คน ที่ พูด อังกฤษ ได้, เรียน ให้ รู้ แต่ ปาก เขา, ให้ ชำ นิ ชำ นาน เปน อัน ดี. a เอ, b บี, c ซี, d ดี, e อี, f เอ๊ฟ*, g ชี*, i ไอ, j เช* k เก, l เอ๊ล*, m เอ๊ม, n เอ๊น, o โอ, p ปี, q คิว*, r อาร*, s เอ๊ซ*, t ตี, u ยู, v ฟี*, w ดับลยู*, x เอ๊กซ*, y ไว, z ซี*.
How to Convert Refuse Molasses into Sugar.
แต่ ก่อน มา ประการ ได้ สาม ป่ แล้ว, ข้าพเจ้า หมอ บวัดเล ได้ เขียน หนังสือ ฝาก ไป ถึง คน ผู้ ใหญ่ ผู้ หนึ่ง ซึ่ง อาไศร อยู่ ณ เมือง อเมริกา, ข้าพเจ้า ถาม ว่า, ซึ่ง น้ำ เหลือง น้ำ ตาน ทราย นั้น อย่า ให้ คน ทั้ง ปวง ใช้ ทำ เปน เชึ้อ สุรา, จะ ใช้ ทำ สิ่ง ของ อืน ๆ ที่ มี ผล แล ประโยชณ์ มาก กว่า นั้น จะ ไม่ ได้ หฤา. คน ผู้ ใหญ่ ได้ รับ หนังสือ นั้น แจ้ง ความ แล้ว, จึ่ง สืบ เสาะ ใต้ ถาม พวก ที่ ทำ น้ำ ตาน ทราย อยู่ ที่ หมู่ เกาะ เมือง อเมริกา นั้น, ได้ ความ ว่า, ซึ่ง จะ เอา น้ำ เหลือง น้ำ ตาน ทราย ไป ทำ เชื้อ สุรา นั้น มี ประโยชณ์ น้อย. ใน ตำรา นั้น จะ ทำ ให้ กลับ เปน น้ำ ตาน ทราย ไป อีก ก็ ได้ แล เมื่อ คน เหล่า นั้น เคี่ยว น้ำ อ้อย แล้ว, จึ่ง ช้อน เอา ฟอง น้ำ อ้อย ไว้ ต่าง หาก แล น้ำ ที่ ชำระ สิ่ง ของ เครื่อง ใช้ ท้ง ปวง ที่ ติด รษหวาน นั้น, เอา มา ประสม เข้า ด้วย กัน กับ น้ำ เหลีอง น้ำ ตาน หราย แล้ว ตัม เสีย ใหม่. แล้ว น้ำ เหลือง น้ำ ตาน ทราย แล ฟอง น้ำ อ้อย แล น้ำ ชำระ ที่ ติด รษหวาน นั้น, ก็ จะ กลับ เปน น้ำ ตาน ทราย ดี เหมือน ที่ ทำ แต่ เดิม นั้น.
มี คน ผู้ หนึ่ง ซื่อ ซะตีเวลซัน เปน นาย โรง หีบ ใหญ่, ได้ อุษ่าห์ ทำ ตาม ตำรา ดั่ง กลาว มา นี้ เปน หลาย ปี ก็ เหน ว่า ผล มาก กว่า คน อื่น ที่ เอา ไป ใช้ ตัม สุรา นั้น ประมาณ ศัก สอง เท่า. ด้วย เหตุ ว่า, น้ำ ตาน ทราย นั้น ขาย ดี มี ราคา แพง กว่า สุรา. อนึ่ง ผู้ ที่ จ้าง ทำ การ์ ทั้ง ปวง ใน โรง นั้น, ก็ มิ ได้ เปน คน ภาล เสพ สุรา มัว เมา ไป, เปน คน ทำ การ โดย สุจวิต ซื้อ สัจ, มิ ได้ เบียด บัง ช่อ กระบัต สิ่ง ของ นาย โรง น้ำ ตาน นั้น ไป เปน ประโยชณ์ ของ ตน.
ข้าพเจ้า หมอ บรัดเล, สำแดง ข่าว เรื่อง ความ นี้, ด้วย มี จิตร ปราถนา จะ ให้ เปน ประโยชณ์ แก่ คน ทั้ง หลาย ใน เมือง ไท นี้, แล ทุก วัน นี้ ข้าพเจ้า เหน สุรา เกิด ชุก ชุม มาก ขึ้น. เพราะ น้ำ เหลือง น้ำ ตาน ทราย เปน เชื้อ สุรา. ๆ นั้น เปน จอง ชั่ว นัก กระทำ ให้ คน ทั้ง หลาย มี ไท แล จีน เปน ตัน, ชวน กัน ประพฤษติ เปน ภาล เสพ สุรา เมา ภา ทัน ติด เหงี้ยน มาก ขึ้น ทุก ปี ๆ เปน ไป ทั้ง นี้, ก็ เพราะ น้ำ เหลือง น้ำ ตาน ทราย คน เอา ไป ทำ เปน เชื้อ สุรา. ข้าพเจ้า พิจรณา เหน ว่า, ถ้า แล เอา น้ำ เหลือง น้ำ ตาน ทราย ไป เท เสีย ใน มหาสมุท, ก็ เหน ว่า จะ เปน คุณ เปน ประโยชณ์ แก่ เมือง มาก กว่า เอา ไป ทำ เชื้อ สุรา นั้น ศัก ร้อย เท่า, ด้วย เหตุ ว่า หา ทำ ให้ คน ประพฤษติ เปน ภาล มัว เมา ไป ได้ ไม่. อนึ่ง ถ้า เอา น้ำ เหลือง น้ำ ตาน ทราย ไป ระคน เข้า กับ ฟอง น้ำ อ้อย ที่ ช้อน ไว้ แล รษ ที่ ติด ภาชนะ เครื่อง ใช้ สรอย นั้น, เอา ไป ระคน เข้า กับ น้ำ เหลือง น้ำ ตาน ทราย ตาม ตำรา ที่ กล่าว มา นั้น, ก็ เหน ว่า จะ เปน ประโยชณ์ ดี กว่า เอา ไป ทำ เชื้อ ต้ม สุรา ศัก ร้อย เท่า. แล คำ ที่ ข้าพเจ้า กล้าว นี้ จะ ควร หฤา มิ ควร เปน ประการ ใด, ให้ ท่าน ทั้ง หลาย พิจรณา ดู เถิด.
Origin of Quinine.
ที นี้ จะ สำแดง เรื่อง ยา คินีน กิน แก้ ไข้ จับ นั้น โดย พิศดาร. เติม ยา คินีน นี้ เปน เปลือกั ไม้ อย่าง หนึ่ง, เกิด แต่ หวิป อะเมริกา ข้าง ทิศ ใต้, ใน ประเทษ ซื้อ ว่า พิริว อาไสย เหตุ ดั่ง นี่ เปลือก ไม้ นั้น บาง คน จึ่ง เรียก ว่า เปลือก ไม้ พิริว. ครั้น อยู่ มา ล่วง ไป ได้ ๒๐๐ ปี แล้ว, มี พญา คน หนึ่ง เปน เจ้า เมื่อง ลักซา เปน หวัว เมีอง อยู่ ใน ประเหษ พิริว นั้น, ได้ ยิน หมอ ขาว ป่า คน หนึ่ง กล่าว สรรเสีญ คุณ เปลื้อก ไม้ นั้น ว่า, เปน ยา แก้ ไข้ จับ สัน ดี ยิ่ง นัก. ครั้น อยู่ มา มี มหาอุปราช องค์ หนึ่ง มี นาม ชื่อ ว่า ซิง กน, ได้ ครอง สมบัติ ใน เมือง พิริว นั้น, มเหษรื แห่ง อุปราช ซิง กน นั้น ปวย เปน ไข้ จับ สั้น, เว้น วัน หนึ่ง จับ วัน หนึ่ง, มี กาย สูบ ผอม ยิ่ง นัก. แพทย์ หั้ง หลาย รักษา เท่าไร ก็ ไม่ หาย. เจ้า เมือง ลักซา แจ้ง ความ ดั่ง นั้น, จึ่ง กราบทูล แก่ มหาอูปราช, ให้ มเหษรี รับ ประทาน ยา เปลือก ไม้ พิริว นั้น ลอง ดู. มเหษรี ก็ รับ ประทาน เหตุ ว่า สี้น สติปัญา แพทย์ ทั้ง ปวง ใน เมือง นั้น แล้ว. ครั้น ได้ รับ ประทาน ยา นั้น เข้า, ใช้ จับ นั้น ก็ หาย ขาด ทิ เดียว. อาไศร เหตุ ดั่ง นี้ เปลือก ไม้ พิริว นั้น, คน ทั้ง ปวง จึ่ง เล่า ฤา กัน ต่อ ๆ ไป โดย ลำดัพ กราบ เท่า ถึง ทวิบ ยูรบ จึ่ง ให้ เปลือก ไม้ นั้น ซื่อ ว้า ซิง กน นา, อาไศร เหตุ ด้วย มหาอุปราช ทรง พระนาม ดั่ง นั้น. แต่ ก่อน นั้น ท์ว เมือง ทั้ง ปวง ก็ เปน ลอง ฝ่าย เหน ไม่ พร้อม กัน, พวก หนึ่ง สรรเสิญ เปลือก ซิง กนนา นั้น ว่า มี คุณ มาก แก้ ไข้ จับ ได้. แต่ พวก หนึ่ง ติเตียน ว่า ไม่ มี คุณ รักษา ไข้ จับ หา หาย ไม่ แต่ ทุก วัน นี้ คน ทั้ง สอง ฝ่าย นั้น, ก็ กลับ เหน คุณ ยา ว่า ดี จวิง สรร เสัญ ด้วย กัน ทั้ง สอง ฝ่าย, ไม่ ใค่ร มี ผู้ ใด ติเตียน เลย.
แล ต้น ไม่ ยา นั้น มี อยู่ สาม อย่าง คล้าย ๆ กัน, เปน ตัน สูง ประมาณ ๓ วา บ้าง ๔ วา บ้าง ๕ วา บ้าง ลำ ต้น นั้น โต ๖ กํา เปน กำหนฏ. เกิด ขึ้น อยู่ ที่ ภูเขา ไม่ สุ่ สูง นัก เปน อย่าง กลาง. เปลือก นั้น มี ศี ต่าง ๆ กัน เปน สาม อย่าง, คือ ศี แดง อ่อน อย่าง หนึ่ง, ศี แดง นวล ๆ อย่าง หนึ่ง, ศี เหลือง กร้ำ กรุ่น อย่าง หนึ่ง เปลือก ไม้ ดั่ง กล่าว มา นี้ ใช้ เปน ยา ได้ เหมื่อน กัน. เดิม ยา คินีน นั้น คน เอา เปลือก ไม้ ทั้ง สาม มา ใส่ ใน น้ำ ท่า แล้ว, จึ่ง เอา น้ำ กรด กำมะถัน ใส่ เจือ ลง น่อย หนึ่ง ภอ ให้ ออก รศ เปรี้ยว แล้ว, เอา ไป ต้ม. ใน เปลือก ซิง กน นา นั้น มี ธาตุ หลาย อย่าง, ๆ หนึ่ง เรียก ว่า คีเนีย, เมื่อ ขณะ ต้ม เปลือก ซิง กน นา ใน ท้ำ ที่ เปรี้ยว ด้วย น้ำ กรด กำมถัน, ๆ ก็ เข้า ระคน เจือ อยู่ ด้วย คิเนีย นั้น, แล ยา ทั้ง สอง สิ่ง นี้ มี งศ ระคน ปน เข้า ด้วย กัน เปน สิ่ง เดียว จึ่ง เรียก ว่า คินิน. แล ตำรา พวก หมอ ณ เมือง เทษ ทำ ยา คินีน ที่ เปน ผู้ ศี ขาว ๆ นั้น, ว่า เลอียด ยืด ยาว ไป นัก. นี่ ข้าพเจ้า กล่าว โดย สัง เขป ประสงษ์ จะ ให้ เหน เปน ใจ ความ แต่ ละ น้อย. แล ยา คินีน นั้น เปน น้ำ กรด กำมถัน ๑๐ ล่วน, ธาตุ คิเนีย ๘๐ ส่วน เศศ, น้ำ ทํา ๙ ส่วน เศศ, ทั้ง สาม สิ่ง คั่ง เรา กล่าว มา นี้ ให้ ระคน เข้ก ด้วย กัน, จึ่ง เรียก ว่า ยา คินีน.
Causes of Intermittent Fever.
ลำดัพ นี้ ข้าพเจ้า หมอ บรัดเล จะ สำแดง ซึ่ง เหตุ ที่ ให้ บังเกิด ไข้ จับ ลั่น แล ไข้ ข้พิศม์ ไข้ ป่า นั้น โดย สังเขป. แล ไข้ ทั้ง สาม อย่าง นี้ เหตุ ที่ บังเกิด นั้น สิ่ง เดียว กัน. เหตุ ที่ บังเกิด นั้น คือ ใบ ไม้ แล ว่าน ยา ทั้ง หลาย, มี ไบ อัน หล่น ลง แล้ว แล เน่า ส่ำ ลม อยู่, เมื่อ ฝน ตก ลง แล้ว แล แห้ง ไป หลาย ครั้ง หลาย หน. ครั้น มา ภาย หลัง ฝน ตก มาก ลง ๆ, พิศม์ ว่าน แล ยา ทั้ง ปวง ที่ ส่ำ ลม เน่า อยู่ นั้น, ก็ ฟุ้ง ขึ้น ระคน เจือ ไป ด้วย ลม, เมือ คน เฃ้า ไป ใน ป่า ครั้น ถูก ต้อง พิศม์ ว่าน ยา ทั้ง หลาย นั้น, ก็ ให้ คน เปน ไข้ มี อาการ ต่าง ๆ. ถ้า ถูก ขาย พิศม์ นั้น น้อย ก็ ให้ เปน ไข้ สั่น น้อย. ถ้า ถูก ต้อง อายพิศ์ม์ มาก ก็ ให้ จับ ลั่น มาก, จับ ทุก วัน, บาง ที่ ให้ จับ วัน ละ สอง หน. ถ้า ถูก อายพิศม์ มาก ขึ้น ยี่ง กว่า นั้น, ก็ ให้ จับ ซึม ไป ไม่ รู้ สม ปฤๅ ดี มิ ใค่ร จะ ถอย เลย. วัน หนึ่ง จะ มี ตัว สำเรา ลง ประมาณ ศัก โมง หนึ่ง เท่า นั้น, แล้ว ก็ กลับ จับ มี พืศม์ กล้า ขึ้น ดั่งเก่า, จน ถึง เพลา ที่ เคย ถอย นั้น, ก็ ถอย ลง น่อย หนึ่ง. แต่ เปน ดั่ง กล่าว มา นี้, บาง คน ครั้น ถึง กำหนฏ ๕ วัน ก็ ถอย, บาง คน ก็ ตาย. บาง ที ถึง ๗ วัน ถอย, บาง ที ๗ วัน ตาย. บาง ที ๙ วัน ถอย, บาง ที ๙ วัน ตาย บาง ที ๑๑ วัน ถอย, บาง ที ๑๑ วัน ตาย. บาง ที ๑๔ วัน ถอย, บาง ที่ ๑๔ วัน ตาย, บาง ทิ ๑๙ วัน ถอย, บาง ที ๑๙ วัน ตาย. บาง ที ๒๑ วัน ถอย, บาง ที ๒๑ วัน ตาย. แล พิศม์ ที่ บังเกิด แต่ อาย ว่าน แล ยา อัน เน่า ดั่ง กล่าว มา นี้, อังกฦษ เรียก ว่า คอย โนมีอัศะ มา, แปล, เปน ไท ว้น อาย พิศ่ม์ ยา บังเกิด แต่ ทุ่ง แล ป่า, ถ้า ฝน ตก นัก น้ำ ท่วม ดาด ไป มาก. พิศม์ คอย โนมีอัศะมา ก็ มิ ใค่ร จะ บังเกิด, ด้วย เหตุ ว่า น้ำ ฝน นั้น ชำระ ล้าง เสีย. ถ้า ฝน แล้ง ดิน แห้ง นัก ก็ มิ ใค่ร จะ เกิด, เหตุ ว่า อาย พิศ์ ว่าน ยา นั้น มิ ได้ ฟู้ง ฃี้น. แต่ ที่ เมือง ไท นี้ มี แผ่น ดิน ราบ ประกอป ไป ด้วย คลอง บาง เล๊ก น้อย มาก, มี น้ำ ชล่ ไหล ขึ้น ลง วัน ละ สอง เพลา. เมึ่อ น้ำ ขึ้น ไหล เฃ้า ไป ใน คลอง เลก น้อย ดิน เปียก อาย พิสม์ ใบ ไม้, แล หญ้า ทั้ง ปวง ที่ หล่น ลง เน่า อยู่ นั้น, ก็ ฟู้ง ขึ้น มาก, จึ่ง ให้ บังเกิด เปน ไข้ พิศม์, แล ไข้ จับ ตาง ๆ, ถ้า ระดู แล้ง ไม่ มี บ่อ แล คลอง เลก นัอย, น้ำ ไม่ ท่วม แล้ว, อาย พิศม์ ของ ทั้ง ปวง ที่ เน่า ไม่ มี มี แล้ว, ความ เจบ ไข้ ก็ ไม่ ใค่ร จะ บังเกิด ได้. แต่ ที่ เมือง นอก นั้น มี บึง แล หนอง ที่ มี หญ้า รก ชัด นัน เปน หลาย แห่ง. เมือ ระดู หนาว นั้น, ถึง คน จะ ไป อยู่ ที่ นั้น, ก็ มิ ได้ เปน ไข้ พิศม์, ครั้น ถึง ระดู ร้อน เข้า, หญ้า แล ของ ที่ เน่า ทั้ง ปวง ก็ บังเกิด เปน อาย พิศ์ ขึ้น. ถ้า คน ไป อยู่ ที่ ริม บึง แล ที่ วิม หนอง นัน, ก็ บังเกิด เปน ไข้ พิศม์ กึง แก่ ความ ตาย เปน อัน มาก. ถ้า บึง แล หนอง นั้น คน ขุด ไข ให้ น้ำ ที่ เน่า นั้น ไหล ออก หมด แล้ว, มิ ให้ คัาง อยู่ ได้, ที่ อัน นั้น ก็ กลับ เปน ที่ ดี, ถึง คน จะ อยู่ ที่ นั่น, ก็ ไม่ เจบ ปว่ย ไข้ เหมือน แต่ ก่อน, ที่ ดั่ง กล่าว มา นี้, ที่ เมือง นอก นั้น ก็ มี เปน หลาย แห่ง. ประการ หนึ่ง, ถ้า นั้า เคม ที่ ชเล กับ น้ำ จืด ใน บึง แล หนอง ระคน ปน กัน เฃ้า แล้ว, ก็ ให้ เกิด เปน พิศม์ กล้า มาก กว่า ที่ มี แต่ น้ำ จืด. อนึ่ง คอย โนมีอัศะมา พิศม์ ที่ เกิด ใน ดง ดิบ ใน ระดู ร้อน เมื่อ แรก ฝน ตก ลง นั้น, เพราะ แสง แดด มิ ใค่ร จะ ส่อง ถึง ไบ้ไม้ แล ว่าน ยา ทั้ง ปวง นั้น, ก็ เน่า ไป กลับ เปน พิสม์ ขึ้น มาก. ถ้า แสง แดด ส่อง ถึง ใน ดง นั้น แห้ง แล้ว, ก็ มิ ใค่ร จะ มิ พิศม์ เพราะ เหตุ ว่า พิศม์ นั้น ขึ้น ตาม แสง แดด หาย ไป.