Bangkok Recorder - May, 1845
The Ericcson Propeller.
จะ ว่า ด้วย เครื่อง กำปั่น ไฟ ดี, ว่า ศัก เจด ปี ล่วง ไป แล้ว, มี คน หนึ่ง ใน เมือง อเมริกา ได้ คิด อ่าน แต่ง เครื่อง กำปั่น ไฟ เปน อย่าง ใหม่ จะ เดิน เรว กว่า เครื่อง กำปั่น ไฟ แต่ ก่อน. เขา ก็ ลอง ต่อ ลำ ย่อม ๆ ดู ก่อน, เมื่อ เหน ว่า ลำ ย่อม นั้น เดิน ดี แล้ว, เขา ก็ ต่อ ลำ ใหญ่. ลำ ใหญ่ นั้น เขา ก็ แล่น ออก ไป จาก เมือง นุยอก ไป ที่ หม่ เกาะ แห่ง หนึ่ง เรียก ว่า ปัจจิม อินเดีย, แล้ว ก็ กลับ มา เมือง นุยอก อีก. เมื่อ เจ้า เมือง เหน ว่า กำปั่น ลำ นั้น เดิน เรว นัก จึ่ง สั่ง ให้ ต่อ กำปั่น รบ ลำ ใหญ่, ให้ ทำ ค้วย เครื่อง ไฟ ทำ อย่าง ใหม่ นั้น, เขา ทำ เสรจ์ ใน ปี เถาะ นั้น, เมื่อ เสรจ์ แล้ว ปราถนา จะ ลอง ดู ว่า จะ เดิน เรว ศัก ขี่ มาก น้อย. เมื่อ ถึง ปี เถาะ เดือน ๑๑ แรม ๑๐ ค่ำ, ก็ มี กำปั่น ไฟ อังกฤษ ลำ หนึ่ง จะ แล่น ออก ไป จาก เมื่อง นุยอก ไป เมือง อังกฤษ, กำปั่น ไฟ อังกฤษ ลำ นั้น เดิน เรว กว่า กำปั่น อื่น ๆ ทั้ง ปวง. เขา จึ่ง จะ สอบ กำลัง เรือ กัน ดู, จึ่ง ปฤก บา กัน ว่า จะ แล่น แข่ง กัน เพลา บ่าย สอง โมง ครึ่ง. แล เมื่อ แล่น นั้น กำปั่น อังกฤษ แล่น ไป ก่อน ประมาณ ศัก ๔๐ เส้น, แล้ว กำปั่น อเมริกา ที่ ต่อ ด้วย เครื่อง ไฟ ใหม่ นั้น ก็ แล่น ไป ตาม, ศัก ครู่ หนึ่ง ก็ ทัน กำปั่น อังกฤษ. ก็ ภอ ถึง ทาง สอง ทาง, ๆ หนึ่ง เปน ทาง ตรง, ทาง หนึ่ง เปน ทาง อ้อม, ทาง อ้อม นั้น ไกล กว่า ทาง ตรง ศัก ๑๒๐ เส้น, กำปั่น อังกฤษ นั้น ก็ แล่น ไป ทาง ตรง, กำปั่น อเมริกา ก็ แล่น ไป ทาง อ้อม. ครั้น ถึง กำหนด อยุด ที่ หลัง เต่า กำปั่น อังกฤษ ก็ ถึง ก่อน กำปั่น อเมริกา ศัก สอง ชั่ว ลำ. ทาง ที้ กำปั่น อเมริกา เดิน นั้น ไกล บระมาณ ๘๑๒ เส้น, เดิน ล่วง ทาง นั้น เปน โมง ครึ่ง, แล แล่น ทวน น้ำ ด้วย. คน อังกฤษ แล คน ภาษา อื่น ๆ ก็ เหน ว่า กำปั่น ลำ นั้น เดิน เรว กว่า กำปั่น อืน ๆ ใน โลกย์ นี้. แล เครื่อง ไฟ ที่ ใช้ ใน กำปั่น อเมริกา นั้น เขา เรียก ว่า เอริกซน, แล เครื่อง นั้น ใน เมือง อเมริกา เขา ก็ ไช้ มาก ขึ้น ๆ ทุก ปี. แล เครื่อง นั้น อยู่ ใด้ น้ำ เหน ไม่ ได้, แล จะ เปน จักร สอง ขั้าง เหมือน กับ จักร กำปั่น ไฟ ที่ เข้า มา ใน เมือง นี้ แต่ ก่อน หา มิ ได้ เลย.
Adventure with a Boa Constrictor.
จะ ว่า ดัวย งู เหลือม ใหญ่ ตัว หบึ่ง. ว่า มี หนังสือ ข่าว มา แต่ เมือง มะตรัษ ว่า มี นาย ทหาร อังกฤษ คน หนึ่ง เปน คน ถล้า, เคย ไป เที่ยว ยิง สัตว ต่าง ๆ ใน ป่า. อยู่ มา วัน หนึ่ง มี ซาว เมือง ฮินดูสถาน คน หนึ่ง มา บอก แก่ นาย ทหาร นั้น, ว่า ข้าพเจ้า ไป เที่ยว ตาม วัว ของ ข้าพเจ้า ใน ป่า, ข้าพเจ้า ไป พบ เนื้อ อย่าง อนึ่ง ภาษา นั้น เรียก ว่า ชีตูล เปน เนื้อ ลาย, เขา ไป บอก นาย ทหาร อย่าง นั้น ด้วย เหน ว่า นาย ทธาร นั้น เปน คน ชอบ เที่ยว ป่ายิง สัตว. นาย ทหาร กับ คน ที่ บอก นั้น ก็ พา กัน ไป ป่า จะ ยิง เนื้อ ตัว นั้น, แล้ว ก็ เอา สุนักข์ ไป ด้วย ตัว หนึ่ง. เมื่อ เข้า ไป ใน ป่า ไกล ศัก ๒๐ เส้น, ใกล้ จะ กึง ที่ เนื้อ นั้น อยู่, นาย ทหาร ก็, เหลียว หน้า มา ดู ข้าง หลัง ก็ เหน สุนักข์ ที่ ตัว เอา ไป นั้น มัน หาย ไป. ศัก ครู่ หนึ่ง ก็ ได้ ยิน เสียง คัง ปรากฏ ใน สุมทุม ไม้ ใก้ล กับ ตัว คัก ห้า วา. ก็ พิจรณา ดู ใน สุมทุม ไม้ นั้น ก็ เหน สัตว อย่าง หนึ่ง สำคัญ ว่า เปน เสือ ใหญ่, ด้วย มี คี ต่าง ๆ เหมือน กับ เลือ ลาย นั้น. ต่อ เมื่อ พิเคราะ ไป จึ่ง รู้ ว่า เปน งู เหลือม ไช่ เลือ. งู เหลือม นั้น มัน รัด สุนักข์ ไว้ รัด จน กะดูก สุนักข์ นั้น หัก มี เสียง ได้ ยิน ปรากฎ. คน ที่ ไป กับ นาย ทหาร นั้น ครั้น เหน งู แล้ว ก็ กลัว วิ่ง หนี ไป โดย เรว. งู เหลือม นั้น มัน ก็ ยก ศีศะ ขื้น แล ดู นาย ทหาร, ๆ ก็ ยิง ปืน ถูก ศีศะ งู นั้น สอง ลูก, แต่ งู นั้น ไม่ ตาย มัน ก็ คลาย สุนักข์ ออก เลื้อย มก ตรง นาย ทหาร ด้วย จะ กัด นาย ทหาร นั้น. นาย ทหาร ก็ ริ่ง หนี ไป, แต่ ป่า นั้น มัน รก ชัด นัก จะ วิ่ง หนี ไป เรว ไม่ ได้. เมื่อ นาย ทหาร เหน ว่า งู เลื้อย เข้า มา ใก้ล แล้ว นาย ทหาร ก็ หนี ขิ้น ตัน ไม้ แล้ว ก็ ยัด ปืน คอย จะ ยิง งู นั้น. ภอ ยัด ปืน แล้ว งู ก็ เลื้อย มา ถึง ต้น ไม้ ที่ นาย ทหาร อยู่, มัน ก็ เลื้อ ขิ้น ต้น ไม้ จะ กัด นาย ทหาร. นาย ทหาร ก็ ยิง งู นั้น ถูก ตา ทั้ง สอง, ตา งู ทั้ง สอง ก็ บอด ไป มิ ได้ แล เหน, แต่ มัน ไม่ ตาย, มัน ก็ เลื้อย ต่อ ขึ้น ไป อีก, นาย ทหาร ก็ ยิง ปืน อีก, ยิง จน สิ้น ลูก ลิ้น ดิน, แล้ว งู ก็ อยุด อยู่ มิ ได้ เลื้อย ต่อ ขึ้น ไป อีก, แต่ นาย ทหาร นั้น จะ ลง มา ก็ ลง มา ไม่ ได้. ด้วย มัน ยัง ไม่ ตาย ยัง เปน อยู่. นาย ทหาร จึjง ร้อง เรียก ซึ้ง ขาว บ้าน ให้ มา ช่วย เสียง อัน ดัง. ภาย หลัง ก็ มี คน ชาว บ้าน หลาย คน, เขา ก็ ออก มก ช่วย มา ฆ่า งู นั้น ให้ ตาง, นาย ทหาร นั้น จึ่ง ลง มา ใด้. งู ตัว นัน วัด โดย ยาว ใด้ ๓๑ ศอก, แต่ ลำ ตัว นั้น เขา ว่า โต กว่า ตัน ขา จอง คน ที่ โต ใหญ่ นั้น อีก.
Steam boats in Calcutta.
จะ ว่า ด้วย กำปั่น ไฟ ใน เมือง บังกะลา. ว่า ทุก วัน นี้ เขา ไช้ กำปั่น ไฟ ใน แม่ น้ำ คงคา มาก ขึ้น ทุก ปี ๆ, เดี๋ยว นี้ มี อยู่ ศัก สี่ ห้า ลำ เปน ของ เจ้า เมือง. ใน จด หมาย เหตุ ใบ ที่ สอง, เรา ได้ ว่า ไว้ ว่า พวก พ่อ ค้า พวก หนึ่ง อยู่ ใน เมือง กาละกัดตา คิด ปฤกษา กัน ว่า, จะ ซื้อ กำปั่น ไฟ หลาย ลำ. เดี๋ยว นี้ ช่าว ใหม่ มา แต่ เมือง กาละกัตตา, ว่า มี คน อีก พวก หนึ่ง เปน พ่อค้า บ้าง, ไม่ เปน พ่อ ค้า บ้าง, คน พวก นั้น มี อยู่ ศัก ๔๐ คน, อยู่ ใน เมือง บัมใบ บ้าง, อยู่ ใน เมือง ปัตะนา บ้าง,อยู่ ใน เมือง อาคะรา บ้าง. ใน เมือง อาละฮาบัด บ้าง, ใน เมือง บะนาเรษ คือ เมือง พา ราณศี บ้าง. แล คน ๔๐ คน นั้น ได้ ลง ทุน แล้ว คัก ๙ แสน รูเบี้ย คิด เปน เงิน ไท ได้ ๑๖๘ หาบ. แล คน ที่ แต่ง หนังสือ ช่าว นี้ เหน ว่า กำปั่น ที่ คน สอง พรก นั้น ซื้อ แล้ว จะ มา ถึง เมือง กาละกัตตา ใน ปี มะเสง นี้ หลาย ลำ. เขา ว่า กำปั่น ไฟ นั้น จะ ออก ไป จาก เมือง กาละกัตตา ไป ถึง เมือง อาละฮาบัด นั้น ๑๕ วัน ถึง. ทาง นั้น ประมาณ ศัก ๗๐ โยชน์ แล ทวน น้ำ ด้วย. อาละฮาบัต อยู่ เหนือ เมือง พาราณศึ ขึ้น ไป ประมาณ ศัก ๑๐ โยชน์.
Velocity of Sound.
ที่ นี้ จะ ว่า ด้วย ตำรา ไฟ ฟ้า ฃ้อ หนึ่ง, ว่า จะ กำหนต สังเกต ให้ รู้ ว่า ฟ้า ร้อง นั้น จะ ร้อง ใก้ล หฤา ร้อง ไกล, จะ สังเกต แล กำหมด อย่าง ไร ได้. คือ ว่า ให้ กำหนด อย่าง นี้, คือ ถ้า เหน ฟ้า แลบ กับ เสียง ฟ้า ว้อง พร้อม กัน ก็ เข้าใจ ว่า ฟ้า ร้อง อยู่ ใก้ล นัก. ถ้า เหน ฟ้า แลบ แล้ว ภาย หลัง จึ่ง ได้ ยิน เสียง ฟ้า ร้อง ๆ ต่อ ภาย หลัง, ก็ เซ้าใจ ว่า ฟ้า ร้อง อยู่ ไกล. ถ้า จะ กำหนด ให้ รู้ แน่, ก็ พึง กำหนด ด้วย เทพจร ที่ ฃ้อ มือ เปน ปรกติ นั้น, คือ ว่า ถ้า เหน พ้า แลบ ขณะ ใด ก็ เอา มือ กด เทพจร ลง ใน ขณะ นั้น, ให้ สังเกด ดู ว่า ถ้า ฟ้า แลบ แล้ว เทพจร เต้น หน หนึ่ง จึ่ง ได้ ยิน เสี้ยง ฟ้า ร้อง, ถ้า เปน ดั่ง นั้น ก็ ว่า ฟ้า ร้อง ไกล ไป จาก ตัว เรา เจ๊ด เส้น. ถ้า ฟ้า แลบ แล้ว เทพจร เต้น ๒ หน ๓ หน จึ่ง ได้ ยิน เสียง ฟ้า ว้อง, ก็ กำหนด ว่า ฟ้า ร้อง นั้น ร้อง ไกล จาก ตัว เรา ๑๔ เส้น ๒๑ เล้น เพราะ เหตุ ว่า เทพจร นั้น, ถ้าง เต้น ที่ หนึ่ง แล้ว ก็ เปน ที่ กำหนด เสียง ไกล ได้ เจ๊ต เล้น ๆ.
Sugar Duties in England.
จะ ว่า ด้วย ภาษี น้ำ ตาน ทราย ใน เมือง อังกฤษ, ว่า แต่ ก่อน นั้น ก็ ตั้ง ภาษี ไว้ เปน สอง อย่าง, คือ เมือง ที่ ขึ้น แก่ อังกฤษ นั้น เสีย ภาษี อย่าง ๑, คือ เมือง ที่ มิ ได้ ขึ้น แก่ อังกฤษ เสีย ภาษี อย่าง ๑. ถ้า เมือง ที่ ขึ้น แก่ อังกฤษ นั้น เอา น้ำ ตาน ทราย เข้า ไป ขาย ใน เมือง อังกฤษ แล้ว ก็ เสีย ภาษี น้อย, คือ เสี่ย หาบ ละ ๑๑ บาท สลึง เพื้อง. เมือง ที่ มิ ได้ ขึ้น แก่ อังกฤษ นั้น ถ้า เอา น้ำ ตาน ทราย เข้า ไป ขาย์ ใน เมื่องอัง งกฤษ, ก็ เสีย ภาษี มาก, คือ เสีย หาบ ละ ๓๐ บาท ย่อม เฟื้อง. แต่ เดี๋ยว นี้ เขา ตั้ง พิกัด เสีย ใหม่, ตั้ง เปน สอง อย่าง, คือ น้ำ ตาน ทราย ที่ เขา ทำ ด้วย กำลัง ลูก จ้าง เสีย ภาษี อย่าง ๑. ถ้า น้ำ ตาน ทราย ที่ เขา ทำ ด้วย กำลัง บ่าว เสีย ภาษี อย่าง ๑. ถ้า บ้าน เมือง ใด, ที่ ขึ้น แก่ อังกฤษ ก็ คี, มิ ได้ ขึ้น แก่ อังถฤษ ก็ ดี, ถ้า ทำ น้ำ ตาน ทราย ด้วย กำลัง ลูก จ้าง แล้ว เอา ไป ขาย ใน เมือง อังกฤษ, ก็ เสีย ภาษี หาบ ละ ๑๑ บาท สลึง เฟื้อง. ถ้า บ้าน ใด เมือง ใด, ขึ้น แก่ อังกฤษ ก็ ดี, มิ ได้ ขึ้น แก่ อังกฤษ ก็ ดี, ถ้า ทำ น้ำ ตาน ทราย ค้วย กำลัง บ่าว แล้ว เอา ไป ขาย ใน เมือง อังกฤษ, ก็ เสีย ภาษี หาบ ละ ๓๐ บาท ย่อม เฟื้อง.
ข่าว ต่าง ๆ. Summary of News.
ใน เมือง อังกฤษ นั้น เขา เลี้ยง แกะ มาก, ด้วย จะ เอา ฃน แกะ นั้น ทำ ผ้า ศักะ หลาด ต่าง ๆ. แล ฃน แกะ นั้น เขา ตัด ปี หนึ่ง หน หนึ่ง แล ใน ปี เถาะ นั้น เขา ตัด ขน แกะ ใด้ ๓๗๑๐๒๘ หาบ.
ปี มโรง เดือน ๙ แรม ๑๐ ค่ำ, มี หนังสือ ฝาก มา แต่ เมือง อังกฤษ มา ถึง เมือง บัม ใบ มาก ประมาณ ๘๓๑๗๖ ฉบัพ. คือ เปน หนังสือ ฝาก เฃียน ด้วย มือ ๓๔๘๓๕ ฉบัผ, เปน หนังสือ ข่าว ตีภิม ๔๘๓๔๑ ฉบัพ. แล หนังสือ ฝาก เข้า มา ใน เมือง บัมไบ อย่าง นี้ ทุก เดือน ๆ, บาง ที่ ก็ มาก กว่า ที่ ว่า มา แล้ว, บาง ที่ ก็ น้อย กว่า.
จะ ว่า ด้วย เมือง บัมใบ, ว่า เมือง บัมใบ นั้น อยู่ ใน ประเทษ ฮินดูส ถาน ข้าง ทิศ ตวัน ตก, อยู่ วิมชเล อารับ. เมือง นั้น เปน เกาะ แล มี ประ เทษ ที่ กำปั่น จอด ดี นัก. เมือง นั้น ขึ้น อยู่ แก่ เมือง อังกฤษ ศัก ๑๘๔ ปี แล้ว. เมื่อ แรก ขึ้น แก่ เมือง อังกฤษ นั้น, คน ที่ อยู่ ใน เมือง นั้น มี ประมาณ ๑๕๐๐๐ คน, เดี๋ยว นี้ เรือน แล ตึก ใน เมือง นั้น มี กว่า ๑๖๐๐๐ หลัง, แล คน ที่ อยู่ ใน เมือง นั้น เดี๋ยว นี้ ประมาณ ศัก ๒๓๐๐๐๐ คน. มี พ่อคัา ใหญ่ มาก, เปน อังกฤษ บ้าง, เปน แขก บ้าง, แล เปน ภาษา อื่น บ้าง. พ่อค้า ใน เมือง บัมใบ นั้น มี กำปั่น บันทุก สิน ค้า ๆ ขาย นั้น มี อยู่ ๔๕ ลำ.
ปี มโรง เคือน ๑๒ ขึ้น ๑๑ ค่ำ, มี ช่าว มา แต่ เมือง มะละแมง ว่า แต่ ก่อน กระษัตร เมือง พะม่านั้ม, เอา ญาติ พี่ น้อง คน หนึ่ง กับ บุตร ของ พี่ น้อง นั้น คน หนึ่ง จำ ไว้ ใน คุก. พาย หลัง เขา ก็ หนี ออก จาก คุก ได้ แต่ ลูก ชาย พี่ น้อง นั้น มา อาไศร ซ่อน อยู่ ใน เมือง มะละแมง คัก หก เดือน, เจ้า เมือง มะละแมง ไม่ รู้. พาย หลัง กระษัตร พะม่า ทราบ ข่าว ก็ มี ทูต ถือ หนังสือ มา ถึง เจ้า เมียง มะละแมง จะ เอา ตัว คน นั้น, แต่ เจ้า เมือง มะละแมง ไม่ ยอม ให้.
ปี มโรง เดือน อ้าย แรม ๑๔ ค่ำ, มี่ ข่าว ใน เมือง กาละกัตตา ว่า มี กำปั่น ไฟ อังกฤษ ลำ หนึ่ง เข้า มา ถึง เมือง กาละกัตตา. กำปั่น ไฟ ลํา นั้น สำหรับ รับ ส่ง คน โดยสาร ไป มา ใน เมือง กาละกัตตา แล เมือง ซิง กะโประ สอง เมือง เท่า นั้น เปน นิจ.
On Idio-Miasmata.
ลำดับ นี้ จะ สำแดง ด้วย ลักษณ ที่ ให้ บังเกิด ไข้ จับ, มี่ อาการ ให้ ร้อน ต่อ ไป. ใน จด หมายเหตุ ไป ๑๐ นั้น ว่า, ด้วย พิศม์ แห่ง คอย โนมี อัศมา แล้ว. บัด นี้ จะ ว่า ด้วย พิศม์ อีก อย่าง หนึ่ง, เรียก ว่า อิดิโอมีอัศ มา เปน ภาษา เฮเสน. ถ้า จะ แปล เปน ใจ ความ ตาม ภาษา ไท นั้น ว่า, อาย พิศม์ อัน บังเกิด ขึ้น ใน ภาย ใน ห้อง กาย แห่ง ตน เอง, มิ ได้ บังเกิด แต่ ภาย นอก. แล อิดิโอมีอัศมา นี้, เมื่อ จะ บังเกิด นั้น, อาไศร เหตุ ด้วย เหื่อ แล ไคล ที่ ออก จาก กาย แล้ว, แล ติด ซึ่ง สิ่ง ทั้ง ปวง มี ผ้า นุ่ง ผ้า ห่ม แล อาศนะ ที่ นั่ง ที่ นอน เปน ตัน, ให้ เหมน สาย เหมน เปริ้ยว ต่าง ๆ. ถ้า โสโครก แล้ว ถึง ไม่ เหมน ก็ มี พิศม์ เหมื่อน กัน. อนึ่ง คน ถ่าย อุจ จาระปะ ศาวะ, แล เท ซึ่ง สิ่ง ฃอง ที่ โสโครก ลง ที่ ใด้ ถุน, ใถ้ล ที่ นั่ง ที่ นอน แห่ง ตน ๆ, จึ่ง ให้ บังเก็ด อาย พิศม์ อิดิโอมีอัศมา. อนึ่ง นักโทษ ที่ ต้อง จำ จอง อยู่ ใน ห้อง ทิม ที่ มืด, ลม พัด มิ ใค่ร ได้ สดวก ก็ ดี, แล เบียด เสียด กัน อยู่ มาก, เมื่อ เหื่อ ออก มา แล้ว, แล มิ ได้ อาบ น้ำ ชำ ระ กาย, ตัว นั้น ก็ เหมน สาษ ลามก ขึ้น ดั่ง นี้, จึ่ง บังเกิด อาย พิศม์ อิดิ โอมีอัศมา ขึ้น. อนึ่ง คน อะนาถา ยาก จน เฃน ใจ ไร้ ทรัพย์, มิ ใค่ร จะ มี ที่ อยู่, ต้อง อาไศร อยู่ ใน เรือน ที่ โสโครก เลก ๆ, แล้ว เบียด เสียด กัน อยู่ หลาย ครัว มาก ด้วย กัน, ที่ กิน ที่ อยู่ นั้น, ก็ โสโครก ไม่ สอาด อา ไศร เหตุ ดั่ง กล่าว มา นี้, จึ่ง บังเกิด อาย พิศม์ แห่ง อิดิโอมีอัศมา ขึ้น, กระทำ ให้ คน ป่วย เปน ไข้ อย่าง หนึ่ง, อังกฤษ เวียก ว่า ไตฟอศ, แปล เปน ภาษา ไท ว่า, ไข้ ให้ ซึ่ม, ไข้ เภ่ย, มัก กระทำ ให้ ธาตุ คน ไข้ นั้น หา ให้ เปน ปรกติ ไม่, มัก กระทำ ให้ เนา เสีย ไป. อาย พิศม์ นั้น จึ่ง ให้ เกิด เปน ไข้ อืน ต่าง ๆ หลาย อย่าง, มัก ให้ เปน ฝี ใน ท้อง บ้าง, เปน บิด บ้าง, เปน มเรง บ้าง, เปน’ ไข้ อะหิวาตะโรคย์ ลง ราก บ้าง, แล เปน โรค อื่น ต่าง ๆ นา ๆ. อนึ่ง อาย พิศม์ แห่ง อิดิโอมีอัศมา นี้, มิ ได้ พัด ลอย ไป ติด ยุคล ผู้ อื่น, เหมือน อย่าง พิศม์ คอย โนมีอัศมา ดั่ง กล่าว มา แล้ว แต่ หลัง นั้น. ย่อม บังเกิด ประจำ อยู่ ใน ที่ ใก้ล ฃอง โสโครก นั้น โดย ธรรมดา, แล้ว ฟุ้ง เช้า ไป ใน กาย แห่ง คน ที่ อยู่ ใก้ล, ตาม ลม หาย ไจ เข้า บ้าง, ตาม ผิว หนัง บ้าง.
จึ่ง มี คำบุจฉา ว่า, ทำ ประการ ใด, จื่ง จะ มิ ให้ อาย ผิศม์ อิดิโอมี อัศมา บังเกิด ขึ้น ได้ เล่า. วิชัชนา ว่า, ให้ คน อาบ น้ำ ชำระ กาย ให้ ส อาด ทุก วัน. ถ้า อาบ น้ำ แล้ว ให้ เอา ษ้าบู่ ชำระ ด้วย, ๒ วัน ๓ วัน ชำระ ครั้ง หนึ่ง, ก็ เหน ว่า จะ มี คุณ มาก นัก, เหตุ ว่า ษ้าบู่ นั้น ชำระ เหื่อ ไคล ที่ ติด อยู่ ตาม ผิว หนัง แล ขุม ขน ให้ สอาด ดี หมด มล ทิน ได้, แต่ ลำพัง น้ำ ท่า นั้น มิ ได่ร จะ หมด มลทิน. ประการ หนึ่ง ผ้า นุ่ง ผ้า ห่ม แล ผ้า ปู ที่ นอน นั้น, พึ่ง ชำระ สุซัก เสีย ให้ หมด มลทิน ให้ ดู สอาด, อย่า ให้ เหมน บุด เหมน เปรี้ยว ไป. อนึ่ง มุ้ง แล หมอน นั้น ไช้ ก็ ให้ สอาด ด้วย. ทำเนียม ที่ เมือง นอก นั้น, มุ้ง แล ผ้า หุ้ม หมอน นั้น ผลัด ซัก บ่อย ๆ., อนึ่ง มุ้ง ที่ ใช้ นั้น อย่า ให้ หนา นัก, ใส้ แต่ บาง ๆ, ถ้า หหา นัก ลม พัด มิ ใค่ร พัด ได้, ก็ มัก ให้ เกิด โรค ต่าง ๆ. อนึ่ง ใน ห้อง แล พื้น เงือน แล ฝา แล เครื่อง ภาชนะ ใช้ สอย ทั้ง ปวง นั้น, พึง ชำระ ล้าง เสีย ให้ สอาด, อย่า ให้ ติด ฃอง ที่ ใสโครก เปน มลทิน เลย. อนึ่ง ที่ โต้ ถุน ก็ พึง ชำระ เสีย ให้ สอาด ดี, แล้ว อย่า ทำ เวจ ที่ ส่ง ทุกข์ ใน ที่ ใก้ล, ที่ อยุ่ แห่ง ตน เลย. โรค จะ บังเกิด ขึ้น นั้น, ก็ อาไศร ด้วย โสโศรก คือ ทำ เวจ, ถ่าย อุจจาระ ใน ที่ ใกัล ที่ อยู่ แห่ง ตน นั้น โดย มาก. อนึ่ง ถ้า ผู้ ใด จะ อาไศร อยู่ ที่ ตึก ก็ ดี, เงือน ก็ ดี, อย่า ทำ ให้ ห้อง ที่ อยู่ นั้น ให้ คับ แคบ. พึง ทำ หน้า ต่าง แล ห้อง นั้น ให้ กว้าง ฃวาง, ให้ ลม พัด เข้า ออก ได้ สดวก จึ่ง จะ ดี. โรค จึ่ง มิ ใค่ร จะ บังเกิด ขึ้น ได้, ดั่ง ขัาพเจ้า กล่าว มา นี้ เปน ความ สัจ จริง โดย แท้.
Treatment of Remittent Fevers.
ลำดับ นี้ จะ ว่า ด้วย ลักษณ ไข้ ป่า, แล ไข้ พิศม์ ต่อ ไป, ไข้ ดั่ง นี้ เมื่อ จับ นั้น ไม่ สั่น, แต่ ทว่า ให้ ซึ้ม เชื่อม ไป, หา มี เพลา สร่าง ไม่, วัน หนึ่ง จะ ถอย ทุเลา ลง ศัก ค่รู หนึ่ง, แล้ว กลับ จับ ไป อีก. เปน ดั่ง ว่า มา นี้ ทุก วัน. ที่ มี พิศม์ มาก นั้น ก็ ให้ ราก ดว้ย, ให้ ผิว หนัง แล คา นั้น เหลือง นัก, ให้ พุงโร เมื่อ กค ลง ที่ พุง นั้น ก็ เจบ นัก, ให้ เจบ บั้น เอว, ปวก ศีศะ นัก, เบา นั้น เหลือง, บาง ที ให้ แดง ทุ่ง นั้น ดำ. ภ้า เปน ดัง นี้ บาง ที่ ๙ วัน บ้าง, บาง ที ๑๑ วัน บ้าง, ๑๔ วัน บ้าง, ๓๑ วัน บ้าง, บาง คน ถึง ที่ กำหนด ดั่ง กล่าว มา นี้, บาง ที่ ก็ ถอย, บาง ที ก็ ตาย. ถ้า แพทย์ จะ รักษา, ให้ กิน ยา ซื่อ ว่า กาโฬเมล ก่อน เปน ผง ศี ข่าว มา แต่ เมือง เทษ หนัก เหมือน ปรอด, เหตุว่า เปน ยา เข้า ปรอด. ยา นี้ ระคน เข้า กับ ยา อีก สิ่ง หนึ่ง ซื่อ ว่า โคลริน ๆ, นั้น เกิด แต่ เกลื่อ, เมื่อ ให้ กิน นั้น ถ้า ผู้ ใหญ่ ให้ กิน หนัก หุน ครึ่ง. ครั้น กิน แล้ว ให้ งด อยู่ ศักสี่ โมง, แล้ว จึ่ง ให้ กิน ดี เกลือ เทษ เกลือ ไท ก็ ได้, หนัก ๒ บาท, ถ้า ลง เปน ปรกติ ประมาณ ๖ ครั้ง ๗ ครัง แล้ว, จึ่ง ให้ กิน ฆา กาโฬเมล ต่อ ไป หนัก ประมาณ ครึง หุน, ประสม กับ ดิน ประสิว ขาว ๑, อิปีแกก เปน ราก ไม้ เทษ ๑, ให้ เอา ดิน ประสิว ชาว บด ให้ เปน จุล ให้ เลอียด หนัก สถึง ๑, เอา อิปีแกก หนัก สอง หุน, กาโฟเมล หนัก สอง หุน, ยา ทั้ง ๓ สิ่ง นี้ บด ระคน เข้า ด้วย กัน ให้ เลอียด, แล้ว แบ่ง เปน ๖ ส่วน, หนัก เท่า กัน. แล้ว ให้ กิน อยุด สาม โมง กิน ครั้ง หนึ่ง ๆ. ให้ กิน ดั่ง กล่าว มา นี้, จง ทุก วัน อย่า ให้ ขาด, ถ้า ยา นั้น ออก รศ ฝาด เหมือน รศ ทอง แดง ก็ ดี, เหงือก บวม ขื้น ก็ ดี, ให้ อยุด ยา กาโฬเมล นั้น เสีย, ไข้ พิศม์ นั้น ก็ จะ ถอย, ถ้า ให้ กิน ยา ดั่ง นิ้, ถ้า ลง หลาย ครั้ง เกิน กำหนด ไป, ก็ ให้ เอา ติน ประสิว ขาว นั้น ออก เสีย, ให้ กิน แต่ กาโฬเมล กับ อิปีแกก. แซ่ก ยา ฝ่น เปน กระสาย น่อย หนึ่ง, ภอ ให้ เดิน เปน มูลโค, ถ้า เดิน นัก เกิน กำหนด ไป, ยา กาโฬเมล ก็ หา มี คุณ ไม่. อนึ่ง ถ้า ผิว หนัง แห้ง โสก นัก ก็ ให้ อาบ น้ำ เอย๊น, ถ้า เหน เหื่อ คน ไข้ ออก แล้ว อย่า ให้ อาบ เลย, ถ้า จะ ให้ กิน น้ำ ซมมะถาว ก็ ดี แล ซ่บ อื่น ทั้ง ปวง, เจื่อ ด้วย น้ำ ตาน ทราย ก็ ไต้. เมื่อ คน ไข้ ได้ กิน แล้ว, ก็ ซื่น ใจ เกิด กำลัง ขึ้น ดี วิเศศ นัก, อย่า สง ไสย เลย ได้ เซื่อ แล้ว. ซึ่ง คน ทั้ง ปวง ถือ ว่า แสลง นั้น หา ควร ไม่, อัน น้ำ ซั่ม นี้ เปรี้ยว มี รศ เอย๊น เปน ที่ บำรุง โลหิต ให้ บริบูรรณ์ ขึ้น. เหตุ ดั่ง นั้น เมื่อ คน ไข้ ได้ กิน แล้ว, ก็ เกิด กำลัง, ให้ เหื่อ ออก. อนึ่ง เมื่อ จะ ให้ กิน เช้า นั้น, ให้ เอา น้ำ เข้า ต้น ข้น ๆ เจือ น้ำ ซ่ม น่อย หนึ่ง, แล้ว ให้ กิน เถิด, ฃอง อื่น ๆ อย่า เภ่อ ให้ กิน ก่อน. ถ้า ตัว ร้อน นัก, ให้ เอา น้ำ ซ่ม สาชู ส่วน หนึ่ง, น้ำ ท่า ส่วน หนึ่ง, ระคม เข้า ด้วย กัน ฉะโลม แล้ว, ให้ ถู ดาม สัน หลัง, จน กระทั่ง บั้น เอว, ดั่ง นี้ บ่อย ๆ ดี มี คุณ มาก. ถ้า คน ไข้ พุงโร ให้ เจบ ก็ ดี, ให้ เภ้อ คลั่ง ไป ก็ ดี, ลิ้น คํา เปน ฟ่า อยู่ ก็ ดี, ทุ่ง นั้น เปน น้ำ ศี แดง ๆ, ผิวหนัง นั้น ร้อน นัก, กำลัง น้อย, เปน ทั้ง นี้ เพราะ โลหิต ไหล เข้า ตาม ลำ ใส้ ๆ นั้น แดง เหมือน ตา คน เปน ตา แดง เหมีอน กัน. ถ้า ไม่ รักษา ลำ ไส้ ไว้, ลำไส้ นั้น ก็ จะ เน่า เสีย ไป, ถ้า แพทย์ พจารณา เหน ดั่ง นี้ จง ปล่อย ปลิง ที่ ทัอง โคย รอบ สะดื. ถ้า ปลิง ตัว ใหญ่ พึง ให้ ปล่อย ๔๐ ตัว ๕๐ ตัว ก็ ได้. ดู ภอ สม ควร ให้ โลหิต ไหล ออก ตาม ปาก แผล ที่ ปล่อย ปลิง นั้น ให้ มาก, อย่า ได้ กลัว เลย. แล้ว จึ่ง เอา เข้า ตัม เฃี้ยว ให้ เปน บร มาณ, พอก เข้า ที่ ปาก แผล ปล่อย ปลิง นั้น. ให้ เข้า ต้ม ดูด โลหิต อยก ให้ มาก, แล้ว จึ่ง เปลี่ยน เข้า ตัม นั้น บ่อย ๆ, ดี มี คุณ แก่ คน ได้ ยิ่ง นัก. อัน ลักษณ จะ ปล่อย ปลิง นั้น, มิ ได้ เลือก ว่า วัน ใด, เดือน ใด, ถ้า จะ ปล่อย เมือ ใด ก็ ปล่อย ได้ ทุก วัน, ที่ คน ทั้ง ปวง ถือ ว่า วัน หั้น ปล่ขย ได้, วัน นั้น ปล่อย ไม่ ไต้ นั้น, ถือ ดั่ง นี้ ผิค นัก หา ควร ไม่. อนึ่ง ถ้า โรค ควร จะ ปล่อย ใน วัน นั้น, หา ได้ ปล่อย ไม่ ละ เลย ไว้ หลาย วัน ไป, คน ไข้ นั้น ก็ จะ ถึง แก่ ความ ตาย, เพราะ เหตุ ว่า ปล่อย ปลิง ไม่ ทัน. เมื่อ ปล่อย ปลิง ดั่ง นั้น แล้ว ก็ ให้ อุษ่า กิน ยา กาโฬเมล ระคน เข้า กับ อิปีแกก ๑ ยา ฝิ่น ดิบ ๑ ยา ทั้ง สาม นี้, ให้ เอา กาโฬเมล หนัก หุน ๑. อิปีแกก ห้า หุน ฝิ่น ดิบ ครึ่ง หุน, บด ให้ เปน จุล ระคน กัน เข้า แล้ว, จึ่ง แบ่ง ออก เปน ๑๒ มื้อ, จึ่ง ให้ คน นั้น กิน, แล้ว ให้ หงด อยู่ ๓ โมง กิน ครั้ง หนึ่ง ๆ. เมื่อ คน ไข้ นั้น ค่อย ทุเลา มี่ ตัว ลําเภา ลง, แล ที่ ท้อง นั้น กด ลง ไม่ เจบ แล้ว, จึ่ง ให้ กิน คินี้น เพลา ละ สอง เม๊ด, สาม ชั่ว โมงให้ กิน ควั้ง ๑ ๆ. ถ้า คน ไข้ ท้อง ยัง โร อยู่, ก็ อย่า เภ่อ ให้ กิน รา คินีน ก่อน. ถ้า กิน เข้า ไป แล้ว มัก ให้ โทษ. เมื่อ ค่อย ทุเลา ลง แล้ว จง อุษ่า ระวัง, อย่า ให้ กิน ฃอง แสลง เลย, ถ้า กิน ฃอง แสลง แล้ว, ก็ จะ กลับ เปน ดั่ง เก่า. อนึ่ง เมื่อ คน ไข้ กิน ยา กาโฬเมล กับ อิปี แกก เข้า ไป, ถ้า เหงือก ยัง หา บวม ไม่, แล โรค ยัง ไม่ ถอย, ก็ ให้ เอา ขี ผึ้ง เข้า ปรอด ดั่ง กล่าว มา แล้ว ดาม จด หมาย เหตุ ใบ ต้น ที่ ๑ นั้น, มา ถู เข้า ที่ ตัน ขา ทั้ง สอง, ที่ ไข่ ตัน, แล รัก แร้ ที่ ท้อง ด้วย. เมื่อ ขณะ ถู นั้น ถู ให้ หนัก ๆ, ถู ให้ หลาย ภรั้ง, หลาย เพลา, ถ้า เหงือก นั้น เจบ บวม ขึ้น แล้ว, ก็ ให้ อยุด เสีย, ให้ แพทย์ พึ่ง เข้า ใจ เถิด ว่า, ปรอด นั้น ทราย เข้า ไป ใน กาย คน ใช้ แล้ว. อนึ่ง ยา คินีน กิน มี คุณ แก้ ไข้ จับ สั่น ได้ ฉัน ใด, อัน ยา ซื่อ ว่า กาโฬเมล นี้, ก็ มี้ คุณ มาก แก้ ไข้ พิศม์, แล ไข้ ป่า ได้ ฉ้น นั้น, ท่าน ทั้ง ปวง อย่า สงไสย เลย, ให้ เอา ไป รักษา ลอง ดู, จึ่ง จะ เหน แน่ ว่า, ยา ดั่ง กล่าว มา นี้ มี คุณ จริง โดย แท้.