Treatise on Vaccination

Treatise on Vaccination

Smallpox was rife throughout Siam and returned every year, affecting much of the population – Dr Bradley himself lost a daughter to it. He worked on a vaccination and documented his efforts in his treatise of 1844.

Inoculation had been practised in Siam before Bradley’s arrival with the Chinese, Indians and Europeans having their own methods for it. Terwiel, in Acceptance and Rejection: The First Inoculation and Vaccination Campaigns in Thailand gives a detailed account of the history of these practises and a balanced account of Bradley’s role in the vaccination campaigns from the 1830s and into the mid-1840s.

An English translation of the treatise, by Quentin (Trais) Pearson, was published in the Journal of the Siam Society, Vol. 104, 2016.

The following text is a transcription of Dr. Bradley’s Treatise on Vaccination taken from scans of the original prints. Please notify any transcription errors to <mark (at) digitalbangkokrecorder.com>.


ทํารา ปลูก ฝี โค
ให้ กัน โรค ธรพิศม์ ไม่ ให้ ขึ้น ได้.

TREATISE
ON VACCINATION
COMPRISING
A NARRATIVE
OF THE
INTRODUCTION AND SUCCESSFUL
PROPAGATION OF VACCINA
IN SIAM — 1840. & 1844.

BY D. B. BRADLEY M. D.
500 Copies.

BANGKOK:
A. B. C. F. M. PRESS.
1844.


ข้าพเจ้า หมอ บวัดเล
ได้ จัด แจง ทํา หนังสือ ทํารา ฝี นี้ ไว้,
เมื่อ จุลศักราช พัน สอง รัอย หก, ปีมะโรงฉัอศก, เตื่อน แปดทุติ
ยาสาดร์ ณะ กรุง ศิอะยุธะยา นี่.


หนังสือ นี้ จะ สำแดง ให้ ผู้ อ่าน ผู้ ฟัง ทั้ง ปวง แจ้ว ว่า, โรค ธระพิศม์ ใน เมือง ไท นี้ ทำ ประการ ใด, จึ่ง จะ ตัก เสีย ให้ ขาด ได้, อย่า ให้ บังเกิด ต่อ ไป เลย.

ถ้า มี เลือ ทวี ขื้น นัก, กำเริบ กล้า หาร ไม่ กลัว ผู้ ได, เข้า มา อยู่ หั่ว ทั้ง แผ่นดิน, มา ล้อม รอบ อยู่ ทุก บ้าน ทุก ตำบล, กัด มนุษ นั้น ทุก คน, คือ บิดา มารตา และ ลุก หลาน ญาติ พี่ นัอง นั้น, ตาย มาก หนัก หนา บี้ ละ หลาย ๆ หพั มี, คน จะ ปราถนา ฆ่า เสื้อ เหล่า นั้น เสีย มาก ศัก เท่าใด. ถ้า มี ผู้ ใด ผู้ หนึ่ง ประกอย ไป ด้วย วิที อาจ จับ เสื่อ ร้าย ทั้ง หลาย นั้น, ฆ่า เสีย ได้, ไม่ ต้อง เสีย ศัก หนิด หนึ่ง, ไม่ เจบ ไม่ ปวด ไม่ ตาย, ถ้า จับ ได้ ตั้ง นั้น จริง, คน ทั้ง ปวง จะ มา อ้อน วอน ผู้ นั้น ให้ ช่วย จับ ประหาร เสีย, มาก ศัก เท่า ใด, เสื้อ นั้น มี อุประมา ฉัน ใด, มี อุประ ไม เหมือน ฝี ดาษ ที่ ร้าย กาจ กระทำ ให้ คน ตาย เสีย มาก กว่า มาก นั้น. คน ที่ เปน ฝี ดาษ, ให้ เจบ ปวด ตาย หนัา กลัว นัก ใน เมื่อง ไท นี้. จะ มี โคร อาจ นับ ได้ ว่า ปี ละ เท่า ไร. ที่ ไม่ ตาย ด้วย ฝี ดาษ นั้น ก็ มี, แต่ ให้ เปน โรค ต่าง ๆ ดัวย พิศม์ ฝี ตาษ นั้น บ้าง, ที่ ให้ แฃน เสีย ชา ลีบ, ตา บอด, เปน ฝี ใน อก ใน ท้อง นั้น, ก็ มาก นัก ใคร อาจ นับ ได้. ฝี ดาษ นั้น บังเกิด ขึ้น ทุก บ้าน ทุก เรื่อน ทั้ง ลาว ทั้ง มอน ทั้ง จีน ทั้ง ยวน ทั้ง ทวาย มี่ พวก ไท เปน ตัน, รอด บ้าง ตาย บ้าง. แท้ จริง คน ชาว เมือง นี่ เปน อันตราย ด้วย โรค ฝี ดาษ นั้น มาก กว่า มาก นัก, ไม่ มี ใคร อาจ พิจรณา ได้.

จึง มี คําบุฉา ว่า, ไม่ มี วิที สิ่ง โด ที่ จะ กัน อันตราย ตัวย โรค อย่าง นี้ บ้าง แล้ว หฤๅ วิสัชนา ว่า วิที อยู่, ที่ มี ฤทธิ์เดช มาก นัก, ที่ ไม่ ตัอง เสีย ทรัพย์, แล ไม่ เจบ ไม่ ปวด ไม่ เปน อัตราย. ทั้ง ชาย ทั้ง หญิง แล เดก เลก ทั้ง ปวง, ก็ ขอ ได้ โดย ง่าย, เอา แต่ ครั้ง เดี่ยว. ฃอง สิ่ง นั้น ใช้ ได้ จน ตลอด อายุศม์. วีที อ้น นี้ พวก อังกฤษ, แล พวก อเมริกา เปน หลาย โกติ คน, ก็ ได้ ทค ลอง วิที อ้น นี้ ดู ว่า มี สิบ ทก ปี มา แล้ว. ทําเนี้ยม ประเทน อังกฤษ แล ทั่ว ประเทษ ยุรบ แล อเมริกา ใช้ แต่ วิดี นี้. เหตุ ดั่งนี้ โรค ธระผิศฆ์ ใน ประเทษ เหล่า นั้น, จึ่ง ไม่ ใค่ร จะ มี เชื้อ, เหลือ อยู่ บ้าง เลก น้อย. แต่ คน ที่ ไม่ เอา วิที นี้ ใช้, จึง เปน โรค ธระพิศม์ นั้น บ้าง.

ขัาพเจ้า พวก หมอ อเมริกา, ที ได้ เข้า มา อาไศวย อยู่ ใน กรุง ศรีอะยุทธา นี้, ได ใช้ วิที อย่าง นี้ แต่ ยัง ไม่ ได้ เช้า มา อยู่ ใน กรุง ไท ทุก คน ๆ, เว้น อยู่ สอง คน. ครั้น เช้า มา อยู่ ใน กรุง ไท ถึง หน้า ระดู คน ออก ฝี ดาษ, พวก หมอ ทั้ง ปวง ทั้ง ชาย ทั้ง หญิง, ก็ ไม้ ได้ เปน ฝี ดาษ เลย. ถึง ฝี ดาษ บ้าง เกิด ขึ้น ที่ คน ใน ครอบ ครัว ฃอง พวก หมอ ก็ ดี, เชื้อ ฝี นั้น ก็ มิ ได้ ติด ต่อ ไป ได้. เหตุ ดัวย ได้ ใช้ วิที ที่ ดัด ฝี ดาษ เสีย ไม่ ม่ เชื้อ แล้ว. แต่ หมอ คน หนึ่ง ที่ เช้า มา อยู่ ใน กรุง ไท นี้ มิ ได้ ใช้ วิที นั้น, จึง เปน ฝี ดาษ แทบ จะ ถึง ซีวิตร เปน อันตราย. แต่ หมอ คน หนึ่ง, เมื่อ ยัง เปน เดก อยู่ ที่ เมื่อง นอก นั้น, บิดา ได้ เอา พัน ฝี ดาษ มา ปลูก ให้, คือ ตัว ฃอง ข้าพเจ้า หมอ นี้ เอง. บิดา ข้าพเจ้า ปลุก ครั้ง นั้น เพราะ มี คน เดิน ทาง มา คน หนึ่ง, ออก ฝี ดาษ มาก ลาง ทวง, จี่งอยุด อาไศรย อยู่ ที่ ใก้ล บ้าน บิดา ฃอง ข้าพเจ้า. คน ใน บ้าน นั้น ต่าง คน ต่าง คิก กลัว นัก ไป เที่ยว หา พัน วิที่, ที่ จะ กัน ได้ อย่าง นี้, ก็ หา ไม่ ได้, จึง จําเปน จํา เอา บุบโพ ที่ ฝี ดาษ นั้น มา ปลูก.

อนึ่ง ประมาณ สี่ ปี แล้ว ข้าพเจ้า เอา วีที พัน ที เคย ใช้ มา แต่ เมือง อเมริกา, พวก หลอ เมือง นอก ฝาก มา ถึง ข้าพเจ้า, ๆ ก็ จัด แจง ทํา ป้อง กัน พวก ลูก หมอ ก็ หลาย คน, ที่ จวน เจ้าพญา พระ คลัง ทั้ง ลูก ทั้ง ช่าว ประมาณ หัา สิบ คน หก สิบ คน, ที่ วัง กรม ขุน อิศเรศรงงสรรค์ นั้น ก็ หลาย คน, ที่ บ้าน ฝรั่งเสศ นั้น ประมาณ สี สิบ คน ห้า สิบ คน. แล คน เหล่า นั้น ที่ ได้ ใช้ วิที ป้อง กัน เปปน แท้ แล้ว,จน บัด นี้ ก็ ไม่ มี ใคร เปน ฝี ดาษ เลย. แต่ วิที ที่ มา แต่ เมือง นอก นั้น ใช้ ได้ สาม เดือน สี่ เดือน เท่า นัน ก็ สิ้น มือ ลง. ข้าพเจ้า จึง ฝาก หนังสือ ไท ถึง เมือง นอก หลาย เมือง, ขอ ให้ ฝาก พันว์หี นั้น เข้า มา. เชา ก็ ฝาก มา ให้ ข้าพเจ้า หลาย ครั้ง, แต่ วิที ที่ ได้ มา นั้น ใช้ หา ได้ ไม่, เพราะ มา ทาง ไกล เสีย ไป, จึง ทํา ไม่ ติก เลย. ครั้น ณวัน เดือน ยี่ ปี ชานจัตวาศึก บุตรหญิง ข้าพเจ้า คน หผึ่ง, เปน ไข้ ธระพิศม์ ได้ ประมาณ สิบ เก้า วัน, ก็ ถึง อนึจกรรม์, เพราะ ไม่ มี วิที อัน นิ้ จะ ป้อง กัน, บุตร หถึง ข้าพเจ้า จึง เสีย ไป. เหตุ ดั่ง นี้ ข้าพเจ้า จึง ทราบ ว่า, คน เช่น ทุกข์ ถึง บุคร ที่ ยัง ไม่ ได้ เปน ไข้ ธระพิศม์ นั้น มาก นัก. ข้าพเจ้า จึง ฝาก หนังสือ ไป ถึง หมอ เมือง นอก อีก, ให้ ขอ พันวิที นั้น เช้า มา ให้ จง ได้. ครั้น ได้ พัน วิที กัน ฝี ดาษ มา แต่ หลาย เมื่อง, พันวิที นั้น ก็ ใช้ ไม่ ได้. เสีย ไป หมด. ต่อ ภาย หลัง ข้าพเจ้า ได้ พันวิที กัน ฝี ดาษ มา แต่ เมื่อง อเมริกา, เมื่อ เตือน แปด ปัถมาสาตร. ข้าพเจ้า ก็ เอา พัน นั้น ใช้ ก็ เปน ดี นัก. ทุก วัน นิ้ วิที นั้น ก็ มาก ต่อ ทุก คน ใน แผ่น ดิน ไท ที่ จะ มา ขอ เอา ไป ใช้, ข้าพเจ้า มี ความ เมดา แก่ ทารก ทั้ง ปวง, ที่ ยัง ไม่ เปน ไข้ ธระพิศม์ นัน, กลัว จะ เปน ไข้ ขึ้น ดัวย โรค ธระพิศม์ ร้าย กาจ นัก. เหตุ ดั่ง นี้ ข้าพเจ้า จึ่ง แต่ง หนังสือ นี้ พรรณา ด้วย พันวิที่ กัน ฝี ดาษ อัน วิเสศ นัก นั้น, ให้ คน ทั้ง ปวง รู้ ให้ สิ้น ความ สง ไสย, ให้ หา วิที นั้น โดย ง่าย, ไม่ ต้อง เสีย ทรัพย์พัศดุ เงิน ทอง เลย.

บัด นี้ ข้าพเจ้า จะ กล่าว โดย พิษ ดาร ตรง ๆ ว่า วิดที ที่ จะ กัน ฝี ดาษ นั้น เปน ยัง ไร. อัน วิที นั้น, คื้อ บุพโพ อย่าง หนึ่ง, แต่ เติม เกิด ขึ้น ที่ นม แม่ โค, จึง เอา บุพโพ ผี้ ที่ นม โค นั้น, มา ปลูก ที่ คน ที่ ยัง ไม่ เปน ฝี่ ดาษ. เมื่อ จะ ปลูก นั้น เอา มีด สกิด เช้า หนิด หนึง, เอา บุพโพ ใส่ ที่ ใต้ ผัว หนัง ตาม รอย มีด นั้น. เมื่อ ขณะ จะ ปลุก นั้น, ก็ เจบ เท่า ยุง กัด เท่า นั้น, ได้ สอง วัน สาม วัน ก็ แตง ขึ้น. ครั้น ถึง วัน, ก็ ยุบ ลง แห้ง ไป เอง. ไม่ ต้อง กิน ยูก ยา แล บีด ยา เลย. ปลูก คราว หนึ่ง สิบ เก้า คน ยี่ สิบ คน, ก็ จะ มี ตัว รัอน บ้าง เลก น้อย ศัก คน หนึ่ง. ถึง กระนั้น, ก็ ไม่ ต้อง กิน ยา ไม่ ต้อง อด ฃอง แสลง. วิที นี้ และ เปน ที่ กัน ฝี่ ดาษ ได้ มัน คง นัก. ถ้า จะ ปลุก ต่อ ไป, ก็ ให้ เอา บุพโพ ที่ ปลูก ขื้น แล้ว แต่ ใส ๆ อยู่, เอา มา ปลูก ลง หี่ คน อื่น, ก็ เปน ต่อ ไป, ใช้ ได้ อีก หลาย พัน ชัว ไม่ กลับ กลาย เปน ฝี้ดาษ แล ฝี่ร้าย สิ่ง ใด เลย. เวียก ว่า พัน ฝี่โค อยู่ อย่าง นั้น.

ที่ นี้ จะ กล่าว ด้วย วิที อย่าง นี้ คื่อ ใคร รู้ก่อน จึง ได้ เอก ใช้ เล่า.

ว่า ประมาาณ ใด้ ห้า สิบ ปี แล้ว, มี หมอ อังกฤษ ผู้ใหญ่ คน หนึ่ง, ซื่อ เชนเนอ, พิจรณา คู ฝูง คน ที่ รูด นม โค ทุก วัน ๆ นัน, เหม ไม่ ออก ฝี่ ดาษ เลย ศัก คน เดียว. จึ่งสืบ ดู ตาม คน เหล่า นั้น ก็ ทราบ ว่า, คน พวก นั้น เปน ฝี่ ขึ้น แต่ ที่ มื่อ, ด้วยพิศม์ ติด ฝี่ ที่ นม โค นั้น จึ่ง เปน. หมอ เชนเนอ นั้น จึ่ง ตฤุก ดรอง ด้วย ปัญา, ว่า ฝี่ ที่ นม โค นั้น จะ กัน ฝี ดาษ ได้ ดอก กระมัง. หมอ อังกฤษ นั้น จึ่ง ไป เอา บุพโพ โล นั้น, มา ปลูก เช้า ที่ คน เปน หลาย คน, ก็ เปน เมต ตั้ง ขิ้น เปน หนอง ตก เสกด หาย ดี แล้ว, ก็ เอา บุพโพ ฝี ดาษ มา ปลูก เช้า ที่ คน เปน ฝี่ โค นั้น แล้ว, ฝี่ ดาษ นั้น ก็ ไม่ ขิ้น, จึ่ง ได้ รู้ ว่า วิที่ นี้ กัน ฝี ดาษ ได้มันคง. แล หมอ เชนเนอ ก็ พิศเคราะห์ สังเกต ดู ว่า, ฝี ที่ นมโค นั้น จะ ติด มา แต่ โรค ฝี ที่ บังเกิด แต่ ทัาว ม้า นั้น ก่อน, ด้วย เดิม ม้า นั้น เปน ฝี ที่ ท้าว เหนือ กีบ รอบ ท้าว เปน หนอง เหนี่ยว. ม้า กับ โค นอน ปน อยู่ ด้วย ถ้วย กัน, เหน ว่า หนอง ที่ ท้าว ม้า ติด เช้า ที่ แม่ โค จึ่ง เกิด ฝี ขึ้น. อี่ก ประการ หนึ่ง คิด ว่า ฝี ที่ นม โค นั้น ติด ฝี ดาษ คน. เมื้อ เกิด ขึ้น ที้ โค แล้ว, ก็ มี ได้ ดาษ ทั่ว ไป, กลับ เปน เพท ฝี่ ดี ไม่ มี ผิศม์ อีก. เมื่อ เอา บุพโพ ที่ โค มา ปลูก เช้า ที่ คน, ก็ มี ได้ ดาษ ขื้น ทั่ว ไป, ขึ้น แต่ หวัว หนึ่ง สอง หวัว ภอ กัน ฝี ดาษ ใด้. หมอ เชนเนอ พิจะณา เหน เหตุ สอง ประการ, คือ ฝี เกิด แต่ มัา อย่าง หนึ่ง, เกิด มา แต่ ฝี คน อย่าง หนึ่ง เช่น ว่า มา นี้, ไม่ เหน เปน แน่ ว่า เกิด มา ด้วย เหตุ ประการ ใด. แต่ใน นัน. เอา ไป ปลูก คน กัน ฝี่ ดาษ นั้น. ก็ เพราะ โค ติด ฝี ดาษ, จึ่ง เปน ฝี เช่น นั้น. หมอ รู้ ดัง นี้ เพราะ เอา บุพโพ ฝี ดาษ ที่ คน, ไป ปลูก ที่ โค, ก็ เปน ฝีหวัว เดียว เช่น หมอ เชนเนอ เหน ที่ นม โค แต่ แรก นั้น เปน เหมื่อน กัน. แล หมอ อังกฤษ หมอ อเมริกา, เอา ฝี ซึ่ง ปลูก ที่ โค นั้น ไป ปลูก ที่ คน ก็ เปน ฝี หวัว หนึ่ง สอง หวัว กัน ฝี ดาษ ได้ มันคง เหมือน หมอ เชนเนอ ได้ ใช้ ที่ เดิม นั้น. แต่ ที่ เอา บุบโพ ฝี ดาษ ที่ คน, ไป ปลูก ที่ โคนัน, ติต ยาก ยิ่ง นัก, ปลูก ยี่ สิบ ตัว สาม สิบ ตัว จะ เปน ศัก ตัว หนึ่ง.

เดิม ช้าพเจ้า เช้า มา อยู่ ณะ กรุงเทพมหานคร นี้, ชัาพเจ้า กับ หมอ เมื่อง นอก ทั้ง ปวง, ก็ ยัง มิ ได้ ทราบ ว่า, บุพโพ โค นั้น ปลูก ขิ้น ด้วย บุพโพ ฝี่ ดาษ ได้. จึ่ง ต้อง แสวง หา พัน บุพโพ ฝี โค ที่ บังเกิด ชึ้น เอง นั้น ข้า นาน ประมาณสี่สิบ หก ปี แล้ว, ตั้ง แต่ เดิม หมอ เซนเนอ พึง เหน ว่า ฝี โค นั้น ฝี ดาษ ได้. แล เมื่อ แรก ข้าพเจ้า เข้า มา อาไศรย อยู่ ใน เมื่อง นี๊, ก็ ได้ เอา พัน บุพโพฝี โค นั้น เข้า มา ด้วย, แล ปลูก ที่ คน ใน ประเทษ นี้ ก็ หา เปน ไม่. แล้ว ข้าพเจ้า จึ่ง ฝาก หนังสือ ไป ถึง เมือง นอก จึง ได้ บุพโพ ฝี โค มา แต่ ณะ เมือง อเมิกา บ้าง, เมื่อง อังกฤษ บ้าง, แล้ว ข้าพเจ้า ได้ เอา ไป ปลูก ที่ คน เปน หลาย ครั้ง ลาย หน ก็ หา ขึ้น ไม่. ครั้น อยู่ มา ณะ ปี จอ สําเรฏธิศก, ก็ บังเก็ด ความ ไข้ ธระพิศม์ ฝี ดาษ ชุก ชุม นัก ริม บ้าน ข้าพ เจ้า พวก หมอ อเมริกา, ๆ จึ่ง คิด กลัว ว่า โรค ธระพิศม์ จะ ติด เปน อันตราย แก่ บุทร ข้าพเจ้า, ๆ จึ่ง แสวง หา บุพโพ ฝี โค จะ เอา มา ทํา พ้น ปลูก, ก็ หา ได้ ไม่. จึ่ง ปถุก ษาพ รัอม ใจ กัน เหน ว่า, ถ้า ไข้ ธระพิศม์ ฝี ดาษ นี้ ออก เอง ตาม ธํา มดา แล้ว, ก็ มัก ร้าย กาจ มี พิศม์ เปน อันตราย นั้น โดย มาก. ถ้า และ เอา บุพโพ ฝี ดาษ มา ปลูก, ก็ เหน จะ ไม่ สู้ มี พิศ์ม์ เปน อันต ราย. อาไส เหตุ ด้วย ว่า เมื่อ ขณะ จะ ปลูก ฝี แล้ว นั้น, ก็ มี กําหนฎ ได้ ว่า แปค วัน เก้า วัน ฝี ดาษ จะ ขึ้น, จึ่ง รัวัง ให้ อด ฃอง แสลง ทั้ง ปวง. ครั้น ท่วน คำรพ แปด วัน เก้า วัน แล้ว, จะ ได้ รับประทาน ยา ทุ่ เลา ถ่าย พิศม์ฝี, ๆ นั้น ถึง ขึ้น ก็ จะ งาม, พิศม์ ก๊ จะ น้อย. ข้าพเจ้า หมอ ปรัดเล กับ หมอ อเมริกา ทั้ง ปวง พิจรณา เทน เหตุ คั่ง นี้, จึ่ง เอา บุพโพ ฝี มา ปลูก ให้ แก่ บุตร แล ทาษ แล ลูก จ้าง หลาย คน, ก็ ขึ้น เปน ฝี งาม มิ ได้ มี พิศย์ เปน อันตราย เลย. กวิษติศรับต์ อัน นี้ จึ่ง หราบ ถึง สมเดจ์พระบาทบรมนาถบรมบพิท พระพุทธิเจ้า อยู่ หวัว จึ่ง มี พระราชโองการ, มาณ พระบันทูล สุระสีหนาท, ดํารัส เหนื่อ เกล้า เหนื่อ กระหม่อม สั่ง ว่า, ให้ หมอ หลวง มา ฝึก สอน เรียน เอา ตำราปลูกฝี ดาษ ที่ หมอ มา แต่ เมือง อเมริกา, แล้ว ให้ ปลูก สมณชีพราหมณ์ แล บุตร ชาราชการ ผู้ ใหญ่ ผู้ นัอย, แล ราษฎร หั้ง ปวง, ฝี นั้น ขึ้น งาม ดี เปน ปรกติ ไม่ สู้ มี พิศม์ เปน อัน ตราย. ครั้น ถึง ระดู ร้อน ฝี ดาษ นั้น ก็ ออก ร้าย มี พิศม์ ช้าง. แล ซึ่ง เอา พัน ฝี ดาษ นั้น มา ปลูก ก็ มิ ใช่ พัน บุพโพ ฝี โค แล้ว, จึง มี พิศม์ เปน อันตราย. ถ้า แล ว่า เอา พัน มา แต่ บุพโค ฝี โค แท้ แล้ว, ก็ ไม่ มี พิศม์ ไม่ เปน อันตราย เลย. เมื่อ ปลูก ฝี ดาษ ครั้ง นั้น พวก หมอ ทัง ปวง จํา เปน จํา ปลูก ด้วย บุพโพ ฝี นั้น หา ไม่ ได้ เลย. จับ เดิม แต่ นั้น มา ข้าพเจ้า จึ่ง ฝาก หนังสือ ไป ถึง เมือง นอก, ขอ พัน ฝี โค แท้ เข้า มา ให้ จง ได้. หมอ เมือง นอก ได้ ทราบ ก็ ได้ ฝาก พัน ฝี บุพโพ โก มา แต่ เมือง กวาง ดุง บ้าง, เมือง มะ กาว บ้าง, เมือง สิงกะโประ บ้าง, เมือง ปีนัง บ้าง, เมือง อเมริกา บ้าง, ข้าพเจ้า ก็ ได้ รับ เอา พัน บุพโพ โค นั้น ไป ปลูก หลาย ครั้ง หลาย คน, ที่ ไม่ เปน นัน มี โคย มาก, ที่ ติด เปน ฝี บ้าง ก็ มี, แต่ ฝี นั้น ไม่ แท้. ครัน มา ถึง เดือน ยี่ ปี กุน เอกศก แล หมอ ที่ เมือง บอศ ตัน ประเทย แว่นแคว้น เมือง อเมริกา คน หนึ่ง, ซื้อซมิศ, ทราบ ว่า ข้าพเจ้า นี้ ประสงค์ ด้วย บุพโพ ฝี โคนัก, จึง เอา ใจ ใส้ แสวง หา บุพโพ ฝี โค ฝาก มา กับ หมอ อเมริกา ที่ เข้า มา สู่โพทธิสมภาร พระ พุทธิเจ้าอยู่หวัว, แต่ ณ เตือน ยี่ ปี กุนเอกศก นัน. ข้าพเจ้า ได้ แจ้ง เหตุ แก่ เจ้า พระญาพระคลัง. ๆ จึ่ง ให้ ข้าพเจ้า เอา บุพใพ โค นั้น ปลูก ให้ แก่ บุตร สี่ ห้า คน, แล ให้ ปลูก แก่ พวก แขก ฉะเลย ประมาณ หก สิบ เสศ. แล ข้าผเจ้า ได้ ปลูก ให้ แก่ บุตร ข้าพเจ้า, แล บุตร หมอ โรบินซัน, แล บุตร พวก ไท ที่ ใก้ล ๆ นั้น บ้าง. คน ที่ ได้ ปลูก ด้วย บุพโพ โค ที่ ได้ มา แต่ เมือง อเมริกา นั้น ประมาณ เจต สิบ ห้า คน. เปน ขึ้น ได้ แต่ ห้า คน เท่า นั้น, เพราะ บุพโพ นั้น มา นาน จวน จะ เสีย แล้ว. ที่ ปลูก ขึ้น นั้น, พวก แขก ฉะเลย สี่ คน, บุตร หมอ โรบินซัน คน หนึ่ง. แต่ พวก แขก ฉะเลย ลี่ คน นั้น, เปน โรค หิด แล มะเรงคชราช, โรค หลาย อย่าง, ข้าพเจ้า รัง เกียด กลัว ว่า, บุพโพ นั้น จะ เอา เปน พัน ต่อ ไป จะ ไม่ ดี. ข้าพเจ้า จึงได้ เอา บุพโพ นั้น ไป ปลูก ลอง ดู ใน พวกแชก ชะเลย ประมาณ ยี่ สีบ คน, ก็ เปน ขิ้น ทุก กน, แต่ ศีศะ ฝี นั้น ดู เหมือน จะ ไม่ กัน ฝี ดาษ ได้, เพราะ เจ้า ฃอง ฝี นั้น, มี โรค อื่น แทรก อยู่, ทํา ให้ ฝี บุพโค นั้น เบือน บิดวิปะวิด ไป. แต่ บุตร หมอ โรบินซัน นั้น ไม่ มี โรค สิ่ง ใด, ครั้น ปลูก ขึ้น ข้าพเจ้า จึ่ง เอา พัน บุพโค จาก เดก นั้น, มา ปลูก ให้ แก่ บุตร ข้าพเจ้า แล เพื่อน หมอ เปน ผู้หญิง คน หนึ่ง, แล เดก ไท คน หนึ่ง, เปน ฝี ดี ทั้ง สาม คน. จึ่ง ได้ เอา พัน บุพโค นั้น ปลูก ให้ แก่ พวก เดก ใน เจ้าพระญา พระคลัง สั่ง ให้ ปลูก อีก สี่ ห้า คน. ที่ จ้าวฟ้ามงกุฎิ ให้ มา ปลูก ห้า คน, แล จ้าวฟ้า กรมขุน อิศเรศ รังสรรค์, ให้ ข้าพเจ้า ปลูก พระหน่อองฅ์ หนึ่ง. คน แต่ บันดา ที่ ได้ ปลูก คราว ที่ ว่า นี้ ขึ้น เปน หลาย คน, ที่ ไม่ ขึ้น ประมาณ สี่ ห้า คน, ที่ ขึ้น นั้น เปน ฝี งาม นัก. ข้าพเจ้า จึ่ง ให้ เอา พัน บุพโพ นั้น ปลูก ต่อ ไป. ณ เดือน สาม ปีกุน นั้น, เจ้าพระญา พระคลัง ได้ ให้ ข้าพเจ้า ปลูก แก่ เดก อีก สาม คน, เปน ฝี ขึ้น งาม ดี ทั้ง สาม คน. ตั้ง แต่ นั้น มา ข้าพเจ้า ได้ เอา พันบุโพ นั้น ปลูก เลี้ยง ไว้ แปด วัน ปลูก ครั้ง หนึ่ง, ปลูก มา ได้ สิบ ห้า ครัง.

ณ เดือน ลี่ ปีกุญ หนอห ลวง ไก้ มา เรียน ปลูก แล ได้ ภา เดก คน หนึ่ง มา ปลูก, แล้ว หมอ นั้น ภา ข้าพเจ้า ไป ที่ วัง พระองค์จัาว นวม, รับ สั่ง ให้ ปลูก พระหน่อ อีก สอง องก์ กับ ช่าว หั้า หก คน. ที่ ปลูก นัน ขึ้น ดี ฝี งาม ห้า คน หก คน, ที่ ไม่ ขึ้น สอง คน สาม คน. ปลูก ที่ บ้าน หลวง สุรสาคร ประมาณ สิบ ลี่ สิบ ห้า คน. อนึ่ง หมอ สุก เปน ช่าว เจ้าพระญา พระคลังก์ ได้ เรีอน ได้ ปลูก เปน หลาย คน ห้า สิบ หก สิบ คน. หมอ สุก ก็ บอก กับ หมอ หลวง คน หนึ่ง ว่า, คน ที่ ได้ ปลูก แล้ว, ถึง จะ อยู่ ปน กัน กับก คน ที่ เปน ฝี ดาษ, คน นั้น ก็ หา เปน ฝี ดาษ ไม่. ครั้ง หลัง เมื่อ ถึง เดื่อน หัา ข้าง แรม ข้าพเจ้า ไป ปลูก ที่ บ้าน หลวง นาย สัก สี่ ห้า คน. ฝี นั้น ไม่ ขึ้น เพราะ พัน บุพโพ นั้น เสีย ไป. จะ เสีย ด้วย เหตุ เข้า ระดู รัอน ฟ้าแลบ นัก หฤา, ๆ เหตุ อื่น ประการ ใด ก็ ไม่ ทราบ. แต่ นั้น มา พัน บุพโพ นั้น ก็ ขาด ไป. ข้าพเจ้า คิด เสีย ดาย นัก, จึ่ง ได้ ฝาก หนังสื้อ ไป ให้ หมอ เมือง อเมริกา, ให้ อะนุเคราะ ฝ่ากบุพโพโคน นั้น มา ให้ ข้าพเข้า. ให้ ถึง ข้าพเจ้า แต่ ต้น ระดู แล้ง จง ทุกปี ๆ, ข้าพเจ้า จะ ได้ อุษ่า ปลูก ฝี กัน ฝี ดาษ แก่ อนา ประชาราษฏร ทุก ปี ๆ, จะ ได้ เปน คุณ เปน ประโยชณ์ แก่ มหานคร นี้ มาก.

แต่ บันดา พวก เพื่อน ฃอง ข้าพเจ้า ที่ อยู่ เมือง อเมริกา เมือง บำเบ เมื้อง กวางตุ้ง เมื่อง มะกาว, ได้ ทราย ดั่ง นั้น, ก็ ฝาก บุพโพ โค เซ้า มา. ข้าพเข้า ก็ ปลูก ลอง ดู, ก็ ไม่ เปน. คราว นั้น ก็ มี หมอ ที่ เมื่อง อเมริกา นัน, เขียน หนังสื่ง ฝาก มา ถึง ซ้าพเจ้า, เปน ใจ ความ ว่า, ถ้า แล หมอ บรัดเล จะ ต้องการ บุพโพ โค, ก็ ไม่ ตัอง มา เอา ถึง เมือง นอก ดอก, ให้ จัด แจง เอา ใน เมือง ไท ก็ จะ ได้, ด้วย พวก หมอ หลาย คน ใน เมื้อง อังกฤษ เมื่อง อเมริกา, พิศเคราะห์ ดู, พึง รู้ ว่า เอา พัน ฝี ดาษ ไป ปลูก ที่ โค, ก็ ได้ พัน ฝี โค ดี เหมือน กัน กับ บุพโพ โค ที่ เกิด เอง นั้น, เปน ฝี กัน ฝี ดาษ ดี นัก ไม่ เปน อันตราย เลย. ข้าพเจ้า ได้ ยิน ช่าว เปน ใจ ความ ดั่ง นั้น, จึง เขียน เรื่อง ราว พัน ฝี นั้น ให้ พณะ หวัว เจ้า ท่าน เจ้า พระญาพระคลัง กวาบ ทูล, พระกรรุณา ให้ ทรง ทราบ, จึ่ง มี รับ สั่ง โปรด เกล้า โปรด กระ หม่อม, ให้ ขุนโค ช่วย ปลูก โค หลาย ตัว แต่ณ เดือน ยี่ ปี ชวด. ก็ หา ขึ้น ไม่, ครั้น ถึง ปี ชาน เดือน อ้าย ก็ เกิต ฝี ดาษ มาก ชุม ร้าย กาจนัก. ข้าพเจ้า จึ่ง เอา พัน ฝี ดาษ ไป ปลูก ที่ โค อีก หลาย ตัว หลาย ครั้ง, ด้วย ปราถนา จะ ได้ บุพโพ มา เปน พัน กัน ฝี ดาษ, ก็ ปลูก ไม่ ขึ้น เลย ศัก ตัว เดียว. เมื่อ หา พัน บุพโฟ โค ไม่ ได้ แล้ว, ก็จํา เปน จํา เอา พัน ฝี ดาษ, ไป ปลูก ที่ บุตร หมอ พวก ข้าพเข้า. ขณะ เมื่อ ข้าพเจ้า ยัง ปลูก บุตร พวก หมอ อยู่ นั้น, บุตร หญิง ฃอง ข้าพเจ้า คน หนึ่ง, ที่ ข้าพจ้า ยัง ไม่ ทัน ปลูก, ก็ ออก ฝี ดาษ ตาม ธรรมดา, ก็ ถึง อนิจกรรม ตาย. เมื่อ บุตร ฃอง ข้าพเจ้า เสีย ไป แล้ว, ข้าพเจ้า มี จิตร คิด ถึง บุพโค โค ทวี ขึ้น กว่า แต่ ก่อน ศักรัอย เท่า, ด้วย เหตุ หา มี บุพโพ โค จะ ปลูก กัน ฝี ดาษ ไม่, บุตร ข้าพเจ้า จึ่ง ตาย. ข้าพเจ้า ก็ มี ใจ กรรุณา สง สาร แก่ ทารก อื่น ๆ ทั้ง ปวง ใน เมื่อง นี้, ที่ ยัง ไม่ ได้ ออก ฝี ดาษ นัน, ปราถนา จะ กัน เสีย ด้วย พัน บุพโพ โค, จึ่ง มี หนังสื่อ หลาย ฉบับ ฝาก ไป ถึง เมือง นอก, เร่ง ให้ เอา บุพโพ โค ฝาก เข้ส มา ให้ ข้าพเจ้า ให้ จง ได้. เปน ใจ ความ ว่า, พัน บุพโพ ที่ ฝาก เข้า มา ให้ ข้าพเจ้า ครั้ง ก่อน นั้น, เสีย ไป สิ้น เพราะ ถูก ลม แล อาย น้ำ นั้น. ที นี่ จง เอา เสกด ฝี พัน ฝี โค นั้น ใส่ ลง ใน ขวด แก้ว เลก ๆ, แล้ว เอา ครั่ง อุด ปาก ขวต ให้ มั่นคง, อ่ยา ให้ อาย น้ำ แล ลม นั้น เข้า ได้. แล้ว เอา ไม้ สน ทำรูภอ จุ ขวด นั้น, แล้ว จึ่ง เอา ขวด ที่ ใส่ พัน บุพโพ ผัน, ใส่ เข้า ใน ไม้ สน อีก ชั้น หนึ่ง, จึ่ง เอา ครั่ง ยา ทับ ปาก รู ที่ เอา ขวด ใส่ ลง นั้น ไว้ ให้ แน่น ดี. หมอ อเม ริกา ก็ จัด แจง ทำ ตาม ข้าพเจ้า สั่ง, แล้ว ก็ ฝาก มา. ตั้ง แต่ ฝ่าก บุพโพ มา ตาม ทาง นั้น ถึง หก เดือน มา ถึง ข้าพเจ้า ได้ เดือน หนึ่ง เปน เจด เดือน ด้วย กัน. บุพโพ พัน มา ใหม่ นี้ เอา ฝาก มา กับ เรือ ที่ หันแตร เข้า มา เมื่อ เดือน แปด ปัถมาสาตร์ นั้น. ข้าพเจ้า จึ่ง เอา เลกด ออก จาก ขวด, สาม เลกต, ยัง เหลือ อยู่ มาก ปิด ไว้ ดั่ง เก่า. แล้ว ข้าพเจ้า จึ่ง เอา น้ำ นม โค ละ ลาย เสกด นัน ออก ภอ เปียก ๆ เหนียว ๆ, แล้ว ข้าพเจ้า ก็ เอา ปลูก เข้า เดก ประมาณ เจด คน แปด คน, แล้ว ข้าพเจ้า คอย ดู อยู่ ถึง แปด วัน, เหน ไม่ เปน, แห้ง ไป หมด แล้ว, ข้าพเจ้า จึ่ง เอา น้ำ ฝน มา เค้ลา เสกด ที่ ยัง อยู่ นั้น ปลูก ซ้ำ เข้า อีก ครั้ง หนึ่ง. ก็ เปน ขึ้น แต่ บุตร จีน นั้น คน เดียว. ปลูก ได้ แปด วัน ฝี นั้น จําเริญ ขึ้น ภอ มี บุพโพโส ๆ, ข้าพเจ้า จึ่ง บ่ง เอา บุพโพ นั้น ไป ปลูก ที่ บุตร ข้าพเจ้า หนึ่ง, ปลูก ที่ บุตร หมอ พวก ข้าพเจ้า คน หนึ่ง, กับ ทั้ง บุตร จีน บุตร ไท อีก หลาย คน. ข้าพเจ้า คอย ดู อีก แปด วัน, ก็ เหน เปน ขึ้น ทุก คน. จึ่ง ไป บ่ง เอา บุพโพ นั้น ปลูก ต่อ ๆ ไป เปน หลาย สิบ คน จน ถึง ทุก วัน นี้. ถ้า ผู้ ใด ปราถนา จะ ปลูก บ้าง, ก็ ให้ ปลูก ตาม พัน บุพโพ ฝี ใน ตราว นี้ เกิด เอา บุพโพ ออก จาก คน ที่ ปลูก ฝี ขึ้น บั้น ไป ปลุก คน อี่น.

นี้ ว่า ด้วย อาการ ฝี โค เมี่อ แรก ปลูก นั้น ให้ เลอียด.

ตั้ง แต่ เอา บุพไพ ไส่ ใด้ ผิว หนัง, ก็ เฉย ๆ อยู่ สอง วัน ถึง วัน ที่ สาม เช้า, ก็ แล เหน แดง ขึ้น ที่ รอย มีด, เปน เมต พอง ขึ้น โดย รอบ เมด นั้น. ที่ พอง ขึ้น มา นั้น เลก นัก, แล ดู ไม่ ใค่ร จะ เหน, ตัอง ดู ด้วย แว่น จึ่ง จะ เหน ชัด. ภอ ถึง วัน ที่ ห้า เข้า, เมด ที่ พอง นั้น ภอ แล เหน สนัด. ยอด ฝี ที่ ปลูก นั้น ชัก เปน ไส้ เข้า น่อย หนึ่ง. โดย รอบ ถาน ฝี นั้น ก็ แดง สูง ขึ้น กว่า เนื้อ ที่ ปรกติ น่อย หนึ่ง. ไส้ ฝี นั้น ก็ ชัก เปน ศรีคลั้ว ๆ เช้า กล่า ศรี บุพโพ ที่ ตั้ง อยู่ รอบ นั้น. ใน วัน ที่ หก, ที่ เจด, ที แปด นั้น, นับ ตั้ง แต่ วัน ปลูก, ฝี นั้น ตั้ง ถาน กว้าง ออก ไป น่อย หนึ่ง, แต่ ยอด ฝี นั้น ยัง ราย อยู่ ดัวย บุพโพ ยัง ไม่ บริบูรรณ์. กรั้น ถึง สิบ วัน สิบ เอด วัน, ฝี นั้น ก็ จําเริญ มี ยอด สูง ขึ้น, เพราะ บุพโพ นั้น บริบูรรณ์. ถาน ฝี นั้น ก็ แดง กว้าง ออก ไป น่อย หนึ่ง. เนื้อ ที่ แดง โดย รอบ นั้น, ก็ แขง ขึ้น เพราะ ฝี นั้น แก่ ขึ้น. ใน วัน ที่ สิบ, ที่ สิบ เอด นั้น, ลาง คน ก็ ตัว รัอน บ้าง เลกน่อย, ลาง ที่ ก็ ตัว ไม่ รัอน เลย. ลาง คน ให้ เจบ ที้ รัก แร้ บ้าง, ลาง ที่ ก็ ไม่ เจบ. ลาง ที เปน เมค ขึ้น แต่ ที่ ปลูก, ไม่ เปน ที่ อื่น, ลาง ที ที่ ปลูก ก็ ขึ้น ที่ พัน จาก แผล ตรง ปลูก นั้น, ก็ ขึ้น หก เมด แปด เมด. อย่าง นี้ ก็ มี อยู่ บ้าง, แต่ น้อย ตัว ดอก ที่ จะ เปน เช่น ว่า มา นี้. ใน วัน ที่ สิบ เอด, ที่ สิบ สอง นั้น, ก็ ชัก ไส้ แห่ง ลง, ก็ กลับ เปน เสกด เข้า. ครั้น ถึง วัน ที่ สิบ สี่ ฝี นั้น ก็ ยุบ ลง เปน เสกด ทั่ว ทั้ง ศีศะ. เสกด นั้น ก็ แห้ง คล้ำ, มี ศรีผิด กับ เสกด ฝี อื่น ทั้ง ป่วง. ลาง ที เสกด นั้น ตก ใน สิบ ห้า วัน บ้าง, สิบ หก วัน บ้าง, สิบ เจด วัน บ้าง. ลาง ที่ ติต อยู่ จน ยี่ สิบ วัน จึ่ง ตก. ฝี ใน เมือง นี้ ตก เสกด เรว กว่า เมือง นอก, เพราะ ร้อน มาก กว่า ที่ เมือง นอก, กับ คน ใน เมือง นี่ ไม่ ได้ ใส่ เลื้อ, เสกด จึ่ง ตก เรว. เมื่อ เสกด ตก หาย ดี แล้ว, ก็ มี รอย ไม่ เสมอ กัน, สูง บ้าง ต่ำ บ้าง. ที่ ตรง รอบ แผส นั้น เนื้อ ก็ ด้าน ๆ ไป น่อย หนึ่ง ไม่ อ่อน เหมีอน เนื้อ ที่ คี นั้น. ให้ แพท พึง พีจรณา ดั้ง แต่ ถาน ขึ้น มา จน เมค จน ชัก ไส้, จน ถึง เปน เสกด, จน ตก เลกด แล้ว, เหน รอย ฝี ดั่ง กล่าว มา อย่าง นี้ จึ้ง จะ กัน ฝี ดาษ ได้. อาการ ฝี ที่ จำเริญ ขึ้น อย่าง ว่า มา นี้ มี โดย มาก. ลาง ที อาการ ก็ ผิด กัน บ้าง เลก น้อย. อนึ้ง ที่ ปลูก ฝี นั้น จำเริญ ขึ้น เรง ใน หก วัน เจด วัน, นับ ตั้ง แต่ วัน ที่ ปลูก ฝี นั้น, บุพโพ บริบูรรณ์, ที่ แดง รอบ ถาน นั้น ก็ แขง ขึ้น อย่าง นี้ ก็ มี. อนึ่ง เมื่อ ปลูก ก็ เฉย ๆ อยู่ จน ห้า วัน หก วัน, จึ่ง แดง เปน เมค ขึ้น, ก็ มี. ทางที่ เปน เมด ขึ้น พัน แผล ที่ ปลูก นั้น สอง เมด สาม เมด บ้าง ก็ มี่. แต่ อาการ ที่ เปน ขึ้น นอก จาก ที่ ปลูก นั้น, ใน รัอย คน จะ มี บ้าง คน หนึ่ง สอง คน. ถ้า จะ เอา เปน แท้ ว่า เปน ฝี โค แล้ว, ต่อ ปลูก ลง ได้ ถึง สอง วัน สาม วัน, จึง เปน เมด ขึ้น อาการ อย่าง ที่ ว่า มา นี้ จึ่ง เอา เปน ฝี โค แท้. ถ้า ผู้ ได ปลูก ลง ได้ วัน หนึ่ง, ก็ เปน ขึ้น มา แล้ว อย่า, เภ่อ ไว้ ใจ กอ่น, เอา เปน แน่ ไม่ ได้. ให้ แพท พิจรณา ให้ เลอียด กอ่น จึ่ง จะ รู้ ชัด.

บุพโพ เสีย ด้วยเ เหตุ ประการ ใด.

อนึ่ง ถึง เปน ฝี โค แท้ ก็ จริง แค่ กลับ เสีย ไปได้, ด้วย เหตุ ต่าง ๆ หลาย ประการ, ประการ หนึ่ง คือ เอา บุพโพ มา เกบ ไว้ ไม่ ดี ให้ ถูก ลม ถูก แดด, พัน ฝี นั้น ก็ เสิย ไป ประการ หนึ่ง, คือ เจ้า ฃอง ฝี เกา เช้า ที่ ปลูก ลง ไว้ นัน, ให้ แผล ถลอก ไป่, แล เอา ยา อื่น ใส่ ลง, แล ทา ฃมิ้น, แผล ที่ ปลูก นั้น ก็ เสีย ไป ประการ หนึ่ง, ถ้า เอา พันธ์ นั้น เมื่อ มี บุพโพ แก่ นัก ก็ เสีย ไป ประการ หนึ่ง. บาง ที เดก เปน แผล อยู่ ที่ ตัว กอ่น มาก บ้าง น้อย บ้าง, แผล อื่น นั้น จึ่ง ชัก น้ำ ฝี ที่ ปูลก นั้น ให้ เสีย ไป. ถ้า ถ้า เปน คชราค แล เปน หิด เปน ขิ้ กลาก อยู่ ก่อนเ แล้ว มัก ชัก ให้ ฝี นั้น เสียไป. ถึง เปน ขึ้น ลาง ที ก็ กัน ฝี ดาษ ได้, ลาง ที่ ก็ กัน ไม่ ได้ ต้อง ให้ ปลูก เสีย ใหม่. ถึง เปน ขึ้น งาม ดี ที่ เดก มี โรค อยู่ ก่อน แล้ว, จะ เอา บุพโพ นั้น ทํา พัน ไป ปลูก ที่ เดก อื่น ก็ ไม่ได้. เพราะ พัน นั้น ไม่ บริสุทธิ์. ประมาณ ได้ หก ปี เจต ปี มา แล้ว, ข้าพเจ้า เอา บุพโพ โด ที่ มา แต่ เมือง กวาง ดู้ง. บุพโพ นั้น หมอ ที่ เมือง นอก เอา ด้าย ชุบ น้ำ บุพโพ ลง, แล้ว กี ใส่ ขวด ฝาก รก ถึง ข้าพเจ้า. ข้าพเจ้า จึ่ง คัด เอา ด้าย ที่ ชุบ บุพโพ น่อย หนึง, ไป ปลูก คน ที่ วัง กรม ขุน อิศเรศรังสรรค์, ก็ เปน ฝี ขึ้น. ข้าพเจ้า ก็ เอา บุพโพ นั้น ทำ พัน ต่อ ไป ปลูก ให้ พวก แขก, ก็ เปน ทุก คน, ข้าพเจ้า ไว้ ใจ มี ใด้ ด้วย บุพโพ เดิม นั้น ตืด มา กับ ต้าย. เมื่อ ข้าพเจ้า ปลูก นั้น ตั้อง เอา ด้าย ใส่ เข้าใด้ ผิว, หนัง, จึ่ง เปน ขึ้น เรว นัก ผิด วิไสย. ข้าพเจ้า ก็ ยัง ไม้ ไว้ ใจ, จึ่ง เอา บุพ โผ ผี้ดาษ มา ปลูก ซ้ำ อีก ที่ คน ปลูก ด้วย บุพโพ โก นั้น, ก็ เปน ฝี คาษ ขึ้น ทุก คน. ข้าพเจ้า จึ่ง รู้ว่า กัน ฝี ดาษ หา ได้ ไม่, จึ่ง สัง คน ทั้ง ปวง ว่า, อย่า ไว้ ใจ เลย, กัน ฝี ดาษ หา ได้ ไม่ แล้ว, พวก แชก ทั้ง ปวง, ก็ ไว้ ใจ ว่า กัน ได้. ครั้น ถึง วะดู ฝี ดาษ เช้า, เดก ลูก แขก นั้น ก็ ออก ฝี ดาษ. คน ทั้ง ปวง ก็ ภา กัน ประมาท หมอ ว่า, ผู้ โค นี้ กัน ฝี คาษ ไม่ ได้, แล้ว กลับ ดู ถูก การ ที่ ปลูก ฝี ลูก ฝี ทั้ง ปวง, เพราะ ข้า ผเจ้า บอก แล้ว หา เชือ ไม่. ทุก วัน นี้ คน ทั้ง ปวง ไม่ เชื้อ ใน การ วิ ที่ ปลูก ฝี โค โดย มาก, เพราะ เหตุ ที่ ปลูก ครั้ง ก่อน นั้น พัน ฝี หา ดี ไม่. คน ทั้ง ปวง จึ่ง เล่า ฦๅ กัน ต่อ ๆ มา ว่า ปลูก แล้ว กัน ฝี ดาษ ไม่ ได้, แล้ว กลับ เอา ความ เท็จ มา โทษ หมอ ว่า, เพราะ หมอ ปลูก กัน ฝี ดาษ นั้น, จึ่ง เปน มาก ขึ้น ออก หนา เตม ที ที่ข้าพเจ้า จะ ทํา คุณ นั้น คน ทั้ง ปวง หา เหน ไม่. กลับ เปน ไป ดั้ง นี้, ก็ เพราะ พัน ฝี นั้น เปน ขึ้น เพราะ บุนโพ ใน ด้าย, ๆ นั้น ภาให้ เปน ขึ้น จึ่ง เสี่ย ไป, ช่าว อัน นั้น จึ่ง เปน ไทษ มา จน ถึง ทุก วัน นี้. ให้ แพทย์ ทั้ง ปวง พิจรณา คู ให้ เที่ยง แท้, จึ่ง จะ กัน ได้ โดย แท้ อย่า กลัว เลย. อนึ่ง ข้าพเจ้า เอา บุพโพ มา ปลูก อีก หลาย ร้อย คน, ก็ หา เปน ไม่. ข้าพเจ้า จึ่ง บอก กับ เขา ว่า, อย่า ไว้ ใจ เลย, ฝี นี้ หา ขึ้น ไม่. เขา ก็ ไม่ เชื่อ, ด้วย เขา เหน แผล มีด นั้น แดง ขึ้น เปน เมด ข้าง เลก น้อย. เขา ก็ ว่า เปน ขึ้น แล้ว, เขา ก็ ไว้ ใจ. ครั้น ระดู ฝี ดาษ ออก, ก็ เปน ฝีดาษ ขึ้น. เขา ก็ กลับ มา โทษ หมอ ว่า, ปลูก แล้ว กัน มิ ได้.

แล คน ที่ ข้าพเจ้า ปลูก ให้ ครั้ง นั้น ก็ หา ขึ้น ไม่, มา ภาย หลัง ออก ฝี ดาษ ก็ ถึง แก่ กรรม์ ตาย บ้าง, เช่น คน ที่ ไม่ ได้ ปลูก นั้น เหมือน กัน, พวก พ้อง ฃอง คน เหล่า นั้น, ก็ กลับ มา โทษ เอา ข้าพเจ้า ว่า ฝี เปน อันตราย นี้ ก็ เพราะ พิศม์ ที่ หมอ ปลูก แต่ ก่อน นั้น. ถึง ใน หัา สิบ คน ที่ ข้าพเจ้า ปลูก ไม่ เปน นั้น, ออก ฝี ดาษ ตาย ลง ศัก คน หนึ่ง, เชา ก็ เล่า ฦๅ โทษ เอา ว่า, ข้าพเจ้า ปลูก ให้ เขา, จึ่ง เปน ฝี ดาษ ตาย. คน ทั้ง ปวง ที่ ได้ ยิน, จึ่ง ไม่ โค่ร จะ ไว้ ใจ ให้ ปลูก ต่อ ไป. ขอ ให้ ท่าน ทั้ง ปวง พิจรณา ดู เถิด ว่า, ข้าพเจ้า มา กระทำการ ดั่ง นี้ จะ ให้ มี คุณ หฤา, ๆ จะ ให้ มี โทษ แก่ คน ทั้ง ปวง,ใน เมือง นี้. ก็ ที่ หมอ รักษา โรค อัน ใด ๆ ที่ บังเกิด โรค แก่ ทารก, แต่ ยัง ไม่ ได้ ออก ฝี ดาษ นั้น. ครั้น ภาย หลัง ทารก นั้น เปน อันตราย ด้วย ฝี ดาษ, ทํา ไม คน ทั้ง ปวง ไม่ โทษ เอา หมอ ที่ ให้ กิน ยา รักษา โรค แต่ ก่อน นั้น ว่า พิศม์ ยา ฃอง หมอ นั้น, ยัง ติด อยู่ บ้าง เล่า, มา โทย เอา แต่ ข้าพเจ้า นี้ ผู้ เดียว.

ให้ แพทย์ ทั้ง ปรง ที่ เอา ผัน บุพโพ โค ที่ คน นั้น บ้าง คน นี้ บ้าง, จง พีจรณา ให้ แน่ นอน แม่น ยำ. ถ้า ผู้ ใด ไม่ กี่ ถ้วน ถูก ต้อง แล้ว, พัน จะ ก็ เสีย ไป, กัน ฝี ดาษ ไม่ ได้, เพราะ แพทย์ ทั้ง ปวง ไม่ พิจรณา ให้ เลอียด, ดู แต่ หยาบ ๆ.

ดัพ นิ้ จะ กล่าว ฃ้ำ อาการ ฝี ที่ กัน ฝี ดาษ ได้, แล ฝี ที่ กัน ไม่ ได้, ให้ เหน พรัอม กัน, จึ่ง จะ พีจรณา ได้ ง่าย.

ถ้า พัน ฝี โค แท้ แล้ว, ทั้ง แต่ ปลูก เข้า ก็ เลย ๆ อยู่, จน ถึ้ง วัน ที่ สาม จึ่ง เหน เปน เมค ขึ้น มา. ถ้า เปน ฝี เท็จ แล้ว แต่ ภอ ปลูก ได้ วัน หนึ่ง สอง วัน, ก็ เปน หนอง ขึ้น ยอก. ถ้า เปน ฝี โค ขึ้น แท้ แล้ว ตั้ง แต่ เปน ถาน แดง ขึ้น ที่ ปลูก แต่ วัน ที่ สาม, ก็ จำเริญ ขึ้น ถึง วัน ที่ เจด ที่ แปด, จน สิบ เอด วัน ทั้ง วัน ปลูก, แล้ว ค่อย ยุบ ลง ทุก วัน ๆ, ถ้า เปน ฝี เท็จ แล้ว ก็ จำเริญ ขึ้น เรว ใน สี่ วัน ห้า วัน ก็ ยุบ ลง. อัน ฝี โค แท้ นั้น ถ้า จำเริญ ขึ้น ได้ ห้า วัน หก วัน, ก็ ชัก ใส้ เขา ให้ กลม ๆ น่อย หนึ่ง, แต่ ที่ ถาน โดย รอบ นั้น ก็ ยัง ไม่ บวม. ถ้า เปน ฝี เท็จ แล้ว ก็ มี ยอก แหลม, ที่ ถาน โดย รอบ นั้น ก็ บวม เรว, ดู เหมือน แผล เกี้ยน ยอก, แล้ว เปน หนอง ขึ้น ใน สอง วัน สาม วัน, ก็ ไม่ ได้ ชัก ไส้. ถ้า เปน ฝี โค แท้ แล้ว, จำเริญ ขึ้น สี วัน ห้า วัน, ก็ เปน น้ำ ใส ๆ ขึ้น มา. ถ้าฝี เท็จ ก็ เปน หนอง เหลือง ๆ ขึ้น. ถ้า ผี้ โด แท้ แล้ว ขึ้น ได้ สี่ วัน ห้า วัน ก็ มี ศรี ขาว ๆ อ่อน ๆ, ถ้า ขาว มาก นัก ก็ เอา เปน แท้ ยัง ไม่ ได้. ถ้า เมต นั้น ราบ นัก ก็ เอา เปน แท้ ไม่ ได้. ถัา เมด นั้น จำเริญ ขึ้น ได้ สี่ วัน ห้า วัน แลัว, ที่ รอบ ถาน ออก มา ที่ เนื้อ ดี นั้ แขง นัก ไป ล็ เอา เปน แท้ ไม่ ได้. เหตุ ดั่ง นี้ จึ่ง ไห้ แผทย์ ตั้ง ปวง พิจรณา ให้ เลอียด, จำ ไว้ ให้ แน่ นอน ตั้ง กล่าว มา นี้. เมื่อ แผทย์ จะ เอา บุพโพ ฝี ผู้ หนึง ผู้ ใด ทำ พัน ต่อ ไป, ก็ ดู ให้ เลอียด ก่อน, จึ่ง เอา ทำ พัน ปลูก ต่อ ไป, จึ่ง จะ กัน ฝี ดาษ ได้ โดย แท้. ถ้า ปลูก ลง แล้ว ที่ เดก อื่น ๆ ได้ กำหนด ที่ ฝ๊ ขึ้น แล้ว, เขา ภา เดก ปลูก นั้น มา ถาม ว่า เปน ฝี โค แท้ หฦๅ ไม่ เปน, ก็ ให้ แผทย์ ตั้งปวง พิจรณา ดู ก่อน, ถ้า เปน พัน ฝี โค แท้ ก็ บอก เขา ว่า เปน แท้, ถ้า สงไส อยู่ ก็ บอก ว่า สงไส อยู่ เหน ไม่ แท้. อย่า ให้ มี อันตราย แก่ ทารก นั้น ได้, ทั้ง อย่า ให้ คน ทั้ง หลาย เชาติ เตียน พวก แผทย์ ทัง ปวง ได้. ให้ เตม ใจ ด้วย กัน ทั้ง สอง ฝ้าย, ควร จะ ปลูก ใหม่ ก็ ให้ แพทย์ ปลูก เสีย เถิด กร ะทำ ให้ เปน คุณ แก่ เขา เปน ประโยชน์ แก่ ดน. สุด แท้ แต่ อย่า ให้ เขา นินทา ได้ ต่อ ไป ถึง เรา ผู้ ทรมาณ กาย มา, จะ ทำ ให้ เปน คุณ แก่ปคน ทั้ง ปวง ที่ ยัง ไม่ ได้ เปน ไข้ ธระพิศม์ นั้น ต่อ ไป.

จะ เชต เอา บุพโพ เวลา ไร จึ่ง จะ ดี.

ถ้า จะ เอา พัน ปลูก ต่อ ไป ให้ ดี แล้ว, ก็ ให้ เอา ตั้ง แต่ วัน ที่ หก วัน ที่ เจด, นับ ตั้ง แต่ เหน ฝี เมี่อ แรก ขึ้น มา จึ่ง จะ เปน พัน ฝี ดี. เมื่อ จะ เอา พัน ฝี นั้น ให้ เอา เขม หฤๅ มีด ที่ แหลม, ค่อย ๆ แทง เข้า ไป ตาม ถาน ฝี ที่ ต่ำ ๆ, อย่า ให้ ถูก ใส้ ฝี นั้น, ให้ แทง หลาย แห่ง ให้ บุพโพ ที่ ไส ๆ ไหล ออก มา แล้ว, จึ่ง เอา ขน นก เหลา ให้ บาง ให้ แหลม แล้ว, เชี่ย เอา แต่ บุพโพ ที่ ใส ๆ, อย่า ให้ โลหิต ติด ปน ออก มา ได้. ครั้น ได้ บุพโพ แล้ว, ก็ วาง ไว้ ให้ แห้ง, แล้ว จึ่ง เกบ ใส่ ขวด ผนิด เสีย ให้ ดี, อย่า ใหั ลม เขา ได้. จึ่ง เอา ไม้ มา เจาะ เขา ให้ เปน รู ภอ ใส่ ขวด ลง ได้ ใน รู ไม้ นั้น, จึง เอา สำลี อุด รู ไม้ นั้น เสีย แลก ระทำ ดั่ง นิ้ ด้วย จะ จับ ต้อง ไป ใหน ๆ ก็ ดี, ไม่ ให้ อาย มือ ถึง ขวด ที่ ใส บุพโพ ไว้ นั้น. ถึง จะ เอา ไป ถึง เมือง ไกล ๆ ก็ ได้, บุพโพ นัน ไม่ เสีย, ทำ พัน ใช้ ได้ นาน.

จะ ให้ ปลูก อย่าง ไร.

ถ้า แผทย์ ทัง ปวง จะ ปลูก ฝี ด้วย บุพโพ นั้น, ให้ เอา มือ จับ เข้า ที่ ปีล แขน ให้ หนัง นัน ดึง ดี แล้ว, จึ่ง เอา ปลาย มีด พับ ลัย ให้ แหลม เหมือน ใบ เข้า, สกิด เขา ไป ที่ ใต้ ผิว หนัง, ภอ โลหิต ทรับ ๆ ออก แล้ว, จึ่ง เอา ปลาย ขน นก ที่ คิด บุพโพ อยู่ แต่ ก่อน ที่ ใล่ ไว้ ใน ขวด นั้น, เอา ปลาย แหลม ที่ ที่ บุพโพ ติด อยู่ นั้น เหนบ ลง ไป ใน รอย มีด. ให้ โลหิด ทราบ ซึ่ง ดึ่ม ดูด เอา บุพโพ ที่ ขน นก แลขน ไก่ นั้น, ให้ ระคน กัน เข้า ปน อยู่ ใน แผล นั้น แล้ว, เอา ขน นก นั้น เสี้ยบ นื้ง ทิ้ง ไว้ ประมาณ แปด นา ที่ สีบ นาที. กระทำ อย่าง ว่า นี้ ศัก สอง แห่ง สาม แห่ง, เผื่อ ฝี ที่ ปลูก จะ ไม่ เปน ที่ แผล แรก จะ เปน ที่ แผล รอง ๆ กัน นั้น. เมื่อ เอา บุพโพ ใส่ เข้า แล้ว ชัก ขน นก ออก จาก แผล แล้ว, จึ่ง เอา ยางมะขวิด ทา ผ้า ไหม ปีด แผล นั้น ไว้. แล้ว เอา ผ้า ขาว บาง ๆ ผูก ตรง แผล นั้น ศัก สอง วัน ระวัง อย่า ให้ น้ำ ถูก เข้า ที่ ปลูก นั้น ได้ สอง วัน ถ้า ไม่ ขึ้น ก็ ปลูก เขา ใหม่ ดั่ง กล่าว มา นั้น.

ถ้า ไม่ มี หนอง สด ก็ ต้อง จำ เปน จำ ปลูก ด้วย หนอง แห้ง ดั่ง ว่า มา แล้ว นั้น. ถ้า มี หนอง สด คือ ปลูก แล้ว ก็ ตั้ง ขึ้น มี บุพโพ อัน บริบูรรณ์, ก็ ให้ บ่ง เอา บุพโพ นั้น ด้วย เขม ก็ ได้, ปลาย มีด ก็ ได้, เอา มา ปลูก ลง ที่ รอย มีด, แต่ ภอ โลหิต กับ บุบโพ นั้น, ทราบ กัน ดี แล้ว, ก็ เอา ย่าง มะขวิต ปิด แผล เสีย เถิด. ปลูก ด้วย บุพโพ สด นี้ มี แต่ จะ ได้ มาก กว่า ไม่ เปน, ติด เรว. เมื่อ จะ ปลูก. นั้น ค่อย ปลาย มีค สกิต แต่ ภอ โลหิต ออก ซับ ๆ, ภอ เจือ กับ บุพโพ ที่ ใส่ ลง นัน. ถ้า โลหีด ไหล ออก มาก ไป แล้ว, ก็ จะ ภา บุพโพ นั้น ออก มา เสีย ด้วย, จะ ไม่ ติด อยู่ ใน ผิว หนัง จะ ไม่ เปน ฝี, เหมือน ล้าง เสีย ด้วย น้ำ ก็ เหมือน กัน.

ถ้า ฝี ปลูก มี ผีศม์ บ้าง จะ ให้ รักษา อย่าง ไร.

แล ฝี ที่ ปลูก คราว หนึ่ง สีบ เก้า คน ยี่ สิบ คน, ก็ จะ มี ตัว รัอน บ้าง ศัก คน หนึ่ง, แล บาง ที่ ก็ อักเสบ ให้ แขน บวม ให้ ปวด ไป. ถ้า เปน ดั่ง นี้ แล้ว, ก็ ให้ เอา เข้า ตัม เชี้ยว ไฟ ให้ เบี่อย ๆ, แล้ว พอก เข้า ตรง แผล แล ที บวม นั้น, ให้ ดูด หนอง ออก เสีย ให้ หาย ปวด ให้ เปลี่ยน พวก วัน ละ สาม เวลา กี็ หาย ปวด หาย บวม. ถ้า ตัว วัอน หนัก ก็ ให้ กิน ดีเกลือ ละลาย ด้วย น้ำ เอย๎น, ให้ ถ่าย พิศม์ ออก เสีย ให้ หาย ตัว ร้อน. ถ้า เดก ให้ กิน หนัก สาม สลึง. ถ้า ผู้ ใหญ่ ให้ กิน ตาม ทาตุ หนัก ทาตุ เบา สุด แต่ ถ่าย เสีย ให้ ได้. ถ้า แผล ฝี ที่ เอา เข้า ตัม พอก นั้น, เปน หนอง เบือย ไป, ก็ ให้ เอา จุลษรี ละลาย น้ำ แต้ม ๆ เข้า ที่ แผล. แล้ว จึ่ง เอา ขี้ ผึ้ง แขง หนัก ส่วน หนึ่ง, น้ำ มัน มะพร้าว สอง ส่วน, หุง ให้ เข้า กัน แล้ว, เอา ทา ผ้า ขาว ปิด ไว้, แล้ว ให้ ผลัด ขิ้ ผึ้ง วัน ละ สอง หน ก็ จะ หาย แล.

อนึ่ง ถ้า มี ผู้ มา ถาม ด้วย ความ สงไส ว่า, ผู่ ที ปลูก ก็ เปน จน ตก เสกด เชด หนอง แล้ว, จะ กัน ฝี ดาษ ได้ ทุก คน จน ตลอด อา ยุศม์ หฤา ๆ ว่า กัน ไม่ ได้ บ้าง. วิสัชนา ว่า, ถ้า เปน ฝี โค แท้ ตาม สัน ถาน ถูก ตัอง ที่ กล่าว มา แล้ว นั้น, ถ้า ปลูก ควาว หนึ่ง ใน รัอย คน, ระ กัน ไม่ ได้ ศัก คน หนึ่ง, เหมือน คน ออก ฝี ดาษ แล้ว กลับ ออก อีก ก็ มี บ้าง แต่ นัอย นัก, ใน ลอง ร้อย คน จะ เปน ศักคน หนึ่ง. ถ้า ได้ ปลูก ฝี โค เปน แท้ แล้ว ถึง มาท ว่า จะ ออก ฝี ดาษ ต่อ ภาย หลัง ก็ มี พิศม์ แต่ นัอย ไม่ เปน อันตราย เลย. ด้วย ฝี โค นั้น มี อุประมา เหมือน น้ำ ฝี ดาษ, ที่ เปน ขึ้น ที หลังนั้น ‘ไช้, มีอุประ ไม เหมือน ไฟ ที่ ติด ขึ้น ใน ที่ อัน เปียก ชุม อยู่ ด้วย น้ำ, ไฟ นั้น จะ ลุก ลาม ไป ที่ ไหน ได้.

จึ่ง มี คำ บุฉา ว่า ทำ ไฉน จึ่ง จะ ได้ รู้ แน่ เล่า, จำ ฝี โค นี้ จะ บั้อง ฝี ดาษ ได้ ตลอด อายุศม์ หฤา ไม่ ตลอด. วิสัชนา ว่า, จะ กัน ได้ ตลอด อายุศม์ หฤา, ๆ ไม่ ตลอด นั้น ก็, ยัง เอา เปน แน่ หา ได้ ไม่, ด้วย ฝี โค พึ่ง ได้ ทราบ ว่า กัน ฝี ดาษ ได้ แต่ เพียง สี่ สิบ หก ปีที่ ล่วง ไป แล้ว, ถึง กระนั้น ก็ เหน ว่า จะ กัน ได้ จน ตลอด อา ยุศม์. หมอ ที่ เมือง นอก นั้น มี อยู่ สอง จำ พวก, จำ พวก หนึง เหน ว่า กัน ได้ จน ตลอด อายุศม์, แต่ หมอ จำ พวก หนึ่ง ไม่ ไว้ ใจ, เมื่อ ถึง ทำ กลาง อายุศม์ แล้ว, ก็ ปลูก ใหม่ อีก ครั้ง หนึ่ง. แต่ ใน ใจ ฃอง ข้าพเจ้า มี้ เหน ว่า จะ ป้อง กัน ไป ได้ จน ตลอด อายุคม์, ด้วย ข้าพเจ้า ได้ ลอง ปลูก ที่ พวก ข้าพเจ้า, ที่ ได้ ปลูก มา แล้ว แต่ เมือง นอก นั้น แต่ เปน เดก อยู่, ครั้น เข้า มา อยู่ ใน กรุงเทพมหานคร นี้, ถึง ทำ กลาง อายุศม์ เข้า, ต่าง คน ต่าง ไม่ ไว้ ใจ ด้วย ฝี ดาษ ใน กรุง นี้ ชุม นัก, จึ่ง ให้ ข้าพเจ้า เอา พัน โค มา ปลูก ใหม่ หลาย คน, ก็ หา เปน อีก ไม่. ครั้น ถึง ระคู ฝี ดาษ ออก ชุก ชุม ตาม พวก ที่ อยู่ ใน บ้าน ใก้ล เรือน เคืยง นั้น, บันดา หมอ อเมริกา เปน พวก ข้าพเจ้า, ก็ ไม่ ได้ เปน ฝี ดาษ อีก. เพราะ คุณ วิที ฝี โค นั้น ยัง ป้อง กัน อยู่ ได้ จึ่ง ไม่ เปน, ข้าพเจ้า จึ่ง เหน ว่า จะ กัน ไป ได้ จน สิ้น อายุม์.

อีก ประการ อนึ่ง, มี คำ บุฉา ว่า, ฝี ที่ ปลูก เปน ขึ้น ที่ เดก คน หนึ่ง สอง คน ก็ ดี, เดก นี ไม่ ได้ ปลูก ฝี ที่ อยู่ ร่วม เรือน กัน นั้น, จะ ติด กัน เหมือน พิศม์ ฝี ดาษ หฤๅ ไม่ ติด. วิสัชนา ว่า, อัน ธรรมะดา ฝี โค นิ้ มี แต่ คุณ ไม่ มี พิศม์, ติด ต่อ กัน ไป ได้ เช่น ฝี ดาษ มิ ได้. ปลูก คน ได ก็ เปน แต่ คน นั้น, ไม่ ติด กัน ต่อ ไป เลย, เปน อัน ขาด ที่ เดี่ยว. มี คำ บุฉา ว่า, จะ ปลูก ฝี โค ให้ ทารก อ่อน ๆ ที่ นอน อยู่ ใน ผ้า ออัม นั้น จะ ได้ หฦๅ ไม่ ได้. วิสัชนา ว่า ปลูก ได้ สุด แต่ ว่า ออก มา พัน ครรภ์ มารดา ได้ สิบ วัน, แล้ว ก็ ปลูก ได้ ทั้ง ขาย หั้ง หญิง ยิ่ง เปน เดก อ่อน ๆ อยู่ ยิง ดี นัก, ด้วย ว่า ทารก นั้น ปราศจาก บาด แผล เปน โรค อื่น ๆ. ถึงเมื่อ แรก ปลูก นั้น ก็ ไม่ เจบ, เมื่อ เปน ขึ้น ก็ ไม่ มี พิศม์. ถ้า เดก ที่ รู้ ความ แล้ว นั้น มี ความ กลัว หมอ นัน มาก, ก็ พลอย ให้ คน ทั้ง ปวง เหน ว่า เจบ นัก จึ่ง ร้อง ไห้ อื้ อืง. ประการ หนึ่ง ปลูก เดก ที่ รู้ ความ แล้ว นั้น ไม้ ใค่ง ติด, ดัวย เหตุ ที่ โลหิต ตาม แผล มีต ที สกิด ไว้ นั้น, ไหล ออก มา มาก เพราะ เดก นั้น รัอง ไห้, จึ่ง เข่ง ให้ โลหิต ไหล, ปลูก จึ่ง ไม่ ไคร่ จะ ติด เหมือน หารก ที่ อ่อน ๆ อยู่ นั้น.

ข้าพเจ้า หมอ บรัดเล ที่ เฃียน หนังสือ บอก ไว้ ให้ แจ้ง ใน วิที กัน ฝี ดาษ นี้, ด้วย ปราถนา จะ ให้ คน ที่ อ่าน ได้ ฟัง ได้ นั้น ทราบ ว่า, มี คุณ อัน ใหญ่ หลวง, พึง ได้ เข้า มา ใน กรุงเทพมหาณคร นี้, ด้วย เดชาณุภาพ แห่ง พระเยซูเจ้า, ผู้ เปนเ เจ้า ฃอง มนุษ ทั้ง ปวง, มี พระไทย ประกอบ ไป ด้วย ความ เมดา แก่ มนุษ ทั้ง ปวง. แต่ บันดา หมอ พวก ข้าพเจ้า, ที่ ได้ เข้า มา พึ่ง พระโภทธีสมภาร อยู่ ใน กรุงเทพมหานคร นี้, เปน สิษ แห่ง พระองค์ ทั้ง นั้น, ได้ ตั้ง คำ อฐถาน อ้อน วอน ให้ พระองค์ โปรด ช่วย มนุษ, จึ่ง ได้ เอา พัน ฝี โค เข้า มา. พระองค์ ก็ รับ คำ อ้อน วอน ฃอง ข้าพเจ้า, แล้ว ก็ โปรด เอา มา ให้, แล้ว ก็ ช่วย ข้าพเจ้า ให้ ปลูก เปน ได้ ทุก วัน นี้ คุณ อัน ใหญ่ หลวง นัน แผ่ พ่าน เข้า มา ใก้ล พวก ไท แล้ว, ภอ บิดา มารดา แล เจ้า ขุน มุน นาย ฃอง ทารก นั้น ขอ มา ปลูก กันได้. อัน ราคา พัน ฝี โค นัน มาก กว่า ยูก ยา ใน เมือง ไท ทั้ง ปวง หมด. ถึง มาท ว่า จะ เอา คุณ ฝี โค แล คุณ ยา ทัง ปวง หมด มา ขี้น ตรา ชู ชั่ง ด้วย กัน, ก็ เหน ว่า คุณ ยา ทั้ง ปวง นั้น จะ เบา กว่า คุณ ฝี โค ได้ ศัก รัอย ส่วน. ถ้า เอา พัน ฝี โค ไป ปลูก ตาม ทำเนียม เมือง อเมริกา ปลูก แล้ว, ก็ เหน ว่า จะ มี คุณ แก่ เมือง นิ้ มาก กว่า ฃอง ที่ มา ใน สำเภา, แล กำปั่น ทั้ง หมด, ด้วย เหตุ ที่ กัน ฝี ดาษ ได้ นั้น โดย แท้, ให้ ดับ โรค ธระพิศม์ ใน เมือง นี้, เอา ขีวิตร ให้ รอด ไว้ ได้ เปน หลาย พัน คน ทุก ปี ๆ. แล ไห้ รายฎร ทั้ง ปวง ปราศ จาก อันตราย ต่าง ๆ ที เกิด จาก โรค ธระพิศม์ นั้น หลาย อย่าง เหลื้อ ที่ จะ นับ จะ ประมาณ ได้. พัน ฝี โค นั้น เปน คุณ แก่ เมือง อเมริกา เมือง อังกฤษ นั้ มา กว่า หลาย โกฏ เตรียน ทุก ปี ๆ, ก็ มี คุณ แก่ คน ที่ อยู่ ใน ท วีบ นี้ มาก เหมือน กัน เมือง อเมริกา เมือง อังกฤษ, ด้วย ได้ เอา พัน มา ทด ลอง ดู สอง ครั้ง แล้ว, ก็ เหน ว่า กัน ฝี ดาษ ได้ มัน คง เหมือน กัน. ใช่ ว่า ทาดุ นั้น จะ ผิด กัน หา หมี ได้. ข้าพเจ้า รักษา คน ใน ประเทษ นี้ ปราถนา จะ คำ คุณ แก่ คน ใน เมือง หลวง, จึ่ง อุษาห์ ปลูก ฝี กัน ฝี ดาษ ที่ บ้าน บ้าง, เที่ยว ไป ปลูก ที่ อื่น บ้าง ลำบาก เหน็จ เหนื่อย นัก. คิด จะ อุษ่า ทำ ไป กว่า จะ สุด สิ้น ถำลัง แล สติ ปัญา ฃอง ข้าพเจ้า. ๆ มี ใจ ปราถนา จะ ให้ หมอ หลวง หมอ ราว ให้ เชื่อ ใจ ลง, จะ ได้ ช่วย กัน ทำ ตาม วิที นี้ ต่อ ไป. แล ปราถนา จะ ให้ ราษฎร ทั้ง ปวง ทิ้ง ความ สงไสย ที่ ว่า กัน ฝี ดาษ ไม่ ได้ นั้น เสื้ย, ให้ เชื่อ ถือ มั่นคง ใน คุณวิถี นี้, อยํา ได้ นิ่ง นอน ใจ อยู่ เลย, ให้ เร่ง ภา ลูก หลาน มา ปลูก เสืย เรว ๆ จะ ได้ กัน ฝี ดาษ. ผู้ ใด อ่าน หนัง นี้ แล้ว ไม่ เชื่อ ก็ เหมือน คน ที ไม่ รู้ จัก ทอง คำ, ข้าพเจ้า เอา ทองคำ หลาย หาบ มา ให้ เปล่า ๆ ก็ หา เอา ไม่, คน ทั้ง ปวง สำคัญ ว่า เปน ทอง แดง ทอง เหลือง ไป, จึ่ง หา รับ เอา ทอง คำ ที่ ข้าพเจ้า ให้ ไม่. เหมือน เอา พลอย เพชร์ หลาย ถัง มา ให้, ไม่ ได้ เอา ราคา เลย, เขา ก็ สำคัญ ว่า เปน ลูก ปัด หุง จึ่ง ไม่ เอา. ทุก วัน นี้ ข้าพเจ้า เอา ฃอง ดี วิเสศ มา ให้ แก่ เมือง ไท, ถ้า เอา ไป ใช้ ก็ จะ กำจัด เสีย ซึ่ง โรค ธระพิศม์ ให้ ขาด ได้, ท่าน ขุน นาง ผู้ ใหญ่ ผู้ น้อย แล ไพ่ร พล ทั้ง ปวง จะ เอา หฦๅ ไม่ เอา. ถ้า เฉย ๆ อยู่ ไม่ เอา ไป ใช้ แล้ว, ก็ เหมือน กับ เอา คุณวิที่ ที่ เรา มา ให้ นั้น, ไป ทิ้ง เสีย ที่ กลาง มหาสมุท ก็ จะ เสีย คุณ เสิย เปล่า ๆ. มา เถิด มา รับ เอา เสีย ยัง แล้ว ใน ครั้ง นี้. ข้าพเจ้า จัด แจง ไว้ ดี แล้ว. ข้าพเจ้า จะ ปลูก ที่ บ้าน ข้าพเจ้า ทุก วัน จันท์ เพลา เข้า, จะ ปลูก ที่ วัด สำปื้ลม ทุก วัน ประ เดียว นี้ เปน การ ใหญ่ นัก เหลื่อ สะดิ กำลัง ข้าพเจ้า, ที่ ไหน จะ สำเรฐ ได้. ควร ที่ จะ ให้ แพทย์ ทัง ปวง ช่วย กัน กับ ข้าพเจ้า ด้วย, แล ควร ที่ หมอ ไท จะ เอา พรัพย์ บ้าง คล สอง สลึง สาม สลึง เปน ค่า เหนื่อย นั้น บ้าง. ถ้า แพทย์ หมอ ไม่ ช่วย กัน, ก็ ขอ ให้ บิดา มารดา ช่วย กัน ปลูก เอา เอง ตาม วิที ข้า ขา บอก ไว้ นั้น เถิด.

ก็ ปลูก ได้ ถ้า ไม่ มี มีด เช่น ว่า มา นั้น, ก็ ให้ เอา เขม ที แหลม ที่ คม, คอ่ย ๆ กวีด เอา แต่ ภอ โลหิต ไหล ออก นอ่ย หนึ่ง, แล้ว ก็ เอา บุพโพ สด ใส่ เข้า ที่ แพล ดั่ง กล่าว มา แล้ว แต่ กอ่น นั้น. แล้ว ก็ เอา ยางมะขวิด ทา ผ้า ฃาว ปิด ลง ไว้ ที่ แผล, ถ้า ไม่ มี ยางมะขวิด เอา กาว ทา ผ้า ปิด ไว้ ก็ ได้. ซึ่ง ปิด ไว้ นั้น เพื่อ จะ กัน ลม ไม่ ให้ ถูก บุพโพ ที่ ไส่ ไว้ นั้น, กลัว จะ แห้ง เสีย ไม่ ทัน ทราบ กับ โลติด ทารก นั้น, ถ้า หนอง สด ไม่ มี ก็ ไป ฃอ เอา เสกด ฝี ที่ คน ปลูก ขึ้น แล้ว นั้น มา, เอา จำ เพาะ กลาง เสกด ที่ หนา ๆ คื้อ หนอง ที่ แรก แห้ง นั้น เปน ศีร คล้ำ เข้า จึ่ง ดี. ถ้า ศรีเสกด ฝี นั้น ฃาว ไป ก็ ไม่ ตี อย่า เอา. เมื่อ ได้ มว แล้ว, ก็ เอา เสกด ฝี นั้น ลลาย น้ำ ฝน ออก ภอ เปน ยาง เหนียว ๆ, แล้ว จึ่ง เอา ฃน นก จิ่ม เอา ภอ ติด ปลาย แล้ว, ก็ เอา มา ปลูก ลง ที่ แผล ตาม กล่าว ไว้ นั้น เถิด. ถ้า หา บุพโพ สด แล เสกด ดั่ง ว่า นั้น ไม่ ได้ แล้ว, ก็ เชิญ มา หา ข้าพเจ้า หมอ บรัตเล ผู้ เปน เจ้า ฃอง ตำรา นี้ เถิด. ข้าพเจ้า จะ ไห้ เปน ทาน, ฃอง เรา เกบ ไว้ โดย มาก จะ ให้ เปล่าๆ ไม่ เอา วัถุ สิ่ง ใด เลย. ถ้า ได้ ปลูก แล้ว, ก็ ให้ ท่าน ทั้ง ปวง คอย เอา บุพโพ ที่ ฝี ขึ้น ครบ กำหนด แปด วัน นั้น, ให้ บ่ง เอา พัน ปลูก กัน ต่อ ๆ ไป, ครบ แปด วัน บ่ง จาก คน นั้น, ไป ปลูก ที่ คน โน้น ต่อ ๆ ไป, อย่า ให้ ขาด เสีย เปล่า ได้. ถ้า เปน เก้า วัน สิบ วัน ไป แล้ว บุพโพ นั้น จะ เสีย ไป. จง ปลูก กัน ไป ให้ ทั่ว วง บ้าน นั้น เถิด, อย่า ให้ เสีย เปล่า เลย. ฃอง นี้ เปน คุณ มาก อย่า ให้ สูญ พัน เสีย. เหมื่อน เข้า ปลูก นั้น, ต้อง เกบ ผัน ไว้, จึ่ง ได้ ทำ นา กิน ทุก ปี ๆ. ถ้า ไม่ มี พัน เข้า ปลูก แล้ว เรา ทั้ง หลาย ได้ เข้า ที่ ไหน กิน ต่อ ไป เล่า. อัน พัน ฝี นั้ ถ้า ทิ้ง เสีย แล้ว, จะ ได้ ที่ ไหน ปลูก ต่อ ไป เล่า. เปน ฃอง หา ง่าย ก็ จริง, แต่ เหมือน ฃอง หา ยาก ตัว ว่า พัน ฝี คราว นี้ เปน ฝี โค แท้, มา แต่ เมือง อเมริกา ทาง ไกล นัก, ข้าพเจ้า จึ่ง กำชับ มา อย่า ให้ คน ท้้ง ปวง ทิ้ง เสีย, ให้ ปลูก กัน ต่อ ๆ ไป เหมือน พัน เข้า ปลูก ที่ ทำ นา นัน เถิด.

ด้วย ทำเนียม เมือง อเมริกา เมือง อังกฤษ นั้น ปลูก ฝี อยู่ สาม อย่าง. ที่ พ่อ แม่ ปลูก เอง นั้น อย่าง หนึ่ง, ให้ หา หมอ มา ปลูก ที่ บ้าน, ถ้า เปน ขึ้น แล้ว ให้ เงิน หมอ สาม สลึง เพึ้อง ก็ อย่าง หนึ่ง, ที่ ภา ลูก หลาน ไป ปลูก ที่ โรง ใหญ่ สำหรับ เปน ที่ หมอ ปลูก ให้ ตาม กำหนด วัน นัน ก็ อย่าง หนึ่ง. ด้วย ใน เมือง ใหญ่ นั้น มี่ โรง สำหรับ หมอ ปลูก ให้ เปล่า ๆ แต่ บันดา คน ยาก คน จน, ก็ ภา กัน ไป ปลูก ที่ โรง นั้น เปน ธรรมะดา. แต่ ปลูก ฝี โค ด้วย ทำเนียม ทั้ง สาม อย่าง ดั่ง นี้ ทุก ปี ๆ, แทบ จะ หมด ทารก ใน ประเทษ นั้น, ที่ เหลื่อ อยู่ บ้าง เลก น้อย, ก็ ออก ฝี ดาษ เพราะ ไม่ ได้ ปลูก ฝี โค กัน เสีย. จึ่ง มี ฝี ดาษ เปน เชื้อ อยู่ บ้าง. แล ฝีดาษ ใน เมือง นั้น ที่ เหลือ อยู่, เปรียบ เหมือน เปน ผู้ ตัก เตือน คน ทั้ง ปวง ให้ ปลูก ฝี โค กัน เสีย เถิด. ถ้า ฝี ดาษ ไม่ มี แล้ว คน ทั้ง หลาย ก็ จะ ภา กัณ เฉย เสีย มิ ได้ คิด ถึง คุณ ฝี โค เลย.

ถ้า ผู้ ใด ได้ อ่าน หน้งสือ นี้ แล้ว, แต่ ยัง มื ความ สงไสย อยู่ ก็ ขอ ให้ ไป สืบ ดู, ตาม คน ที่ ปลูก แล้ว แต่ ปี กุน เดือน ยี่ ตาม ที่ ว่า ไว้ แล้ว ใน หน้า สิบ สอง ที่ อ่าน มา บั้น, ว่า ที่ หมอ ว่า เปน ฝี โค กัน ได้ แล้ว นั่น, จะ เปน ฝี ดาษ บ้าง หฤๅ ไม่ เปน. แล้ว สืบ ดู คน ที่ ข้าพเจ้า ปลูก ให้ คราว นี้, ที่ บ้าน เจ้าพระญา พระคลัง, เจ้า พระญาพลเทพ, แล ที่ วังกรมขุนอิศเรศรงงสรรค์, วังกรมหมื่น วงษา, ที่ ทูล กระหม่อม พระ, ที่ บ้าน พญาวิเสศ วัดสมอราย, แล พวก ไท พวก จีน เขม นม ลายู เปน อัน มาก. ที่ ปลูก ขึ้น คราว นี้ เปน ฝี โค แท้ นั้น ประมาณ ร้อย เคศ, ที่ ปลูก ไม่ ติด นั้น ประมาณ สอง รัอย คน เสศ. ฃอ ท่าน ไป สืบ ดู แก่ คน ที่ ข้าพเจ้า ว่า เปน ฝี แท้ นั้น เถิด. นอก กว่า นั้น ยัง ไม่ เปน บ้าง, เปน ไม่ แท้ บ้าง, ยัง เอา แน่ ไม่ ได้. ถ้า ไป สืบ ดู ตาม คน ปลูก แล้ว, แต่ ข้าพเจ้า ว่า ยัง สงไส อยู่ นั้น, จะ เปน ฝี ดาษ ขึ้น เมื่อ ภาย หลัง ก็ ดี, ท่าน ทั้ง ปวง ก็ อย่า ได้ ดู หมิน ดู ถูก ใน การ ที่ จะ ปลูก ฝี กัน ฝี ดาษ นั้น เลย. เหตุ เพราะ ไม่ เปน ไม่ คิด ดอก, ซึ่ง ออก ฝี่ ดาษ ได้. ถ้า ไป สืบ ใน คน ที่ ข้าพเจ้า ว่า เปน ดี แล้ว นั้น ไม่ เปน ฝี่ ดาษ แล้ว, ก็ ขอ ให้ ท่าน ทั้ง หลาย เอา ใจ ใส่ ช่วย กัน ปลูก ฝี โค นี้ ป้อง กัน ต่อ ไป เกิด. ยก บุญ ยอ คุณ ฝี โค ขึ้น ให้ มาก, จึ่ง จะ ควร, เพราะ เปน ฝี โค แห้ กัน ฝี ดาษ ได้. เปน ไม่ แท้ จึ่ง กัน ไม่ ได้. เชิญ ไป สืบ ดู ให้ ได้, อย่า สงไส อยู่ เปล่า ๆ, จึ่ง จะ เหน คุณ ที่ ข้าพเจ้่า ว่า ไว้นี้.

คน ใด ที่ ปลูก ไม่ ติต ก็ ให้ ปลูก ผู้ นัน อีก, ถ้า ปลูก สอง หน ไม่ เปน ก็์ ให้ ปลูก ซ้ำ อีก สอง หน สาม หน กว่า จะ ติด.

ปลูก ฝี กัน ฝี ดาษ ก็ สิ้น แต่ เพียง นี้ แล.